เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90 อันตราย เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90 โดย นายแพทย์สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
อ้วนลงพุง กลุ่มของปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มที่มีน้ำหนักเกิน หรืออ้วน และกลุ่มคนที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
ลักษณะสำคัญ ภาวะต้านอินซูลิน อ้วนที่ท้อง (อ้วนลงพุง) ความดันโลหิตสูงขึ้น ไขมันผิดปกติ
การวินิจฉัยภาวะอ้วนลงพุงมีลักษณะ อ้วนลงพุงร่วมกับปัจจัยเสี่ยง 2 ใน 4 อย่าง ต่อไปนี้ ความดันโลหิต > 130/85 มม.ปรอท ระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร > 100 มิลลิกรัม ต่อเดซิลิตร ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ >150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับไขมัน HDL < 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้ชาย หรือ < 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้หญิง
สำหรับประชาชนเพื่อกำกับตนเอง การวัดเส้นรอบพุง สำหรับประชาชนเพื่อกำกับตนเอง วัดในท่ายืนแยกเท้าห่างกัน ~ 10 ซม. วัดที่ระดับสะดือ วัดช่วงหายใจออก ให้สายวัดแนบลำตัวไม่รัดแน่น สายวัดวางในแนวระดับขนานกับพื้น
การวัดเส้นรอบพุงสำหรับการวิจัย การประเมินผลโดยเจ้าหน้าที่ วัดในท่ายืนแยกเท้าห่างกัน ~ 10 ซม. วัดรอบพุงบริเวณขอบบนของกระดูก เชิงกรานทั้ง 2 ข้าง วัดช่วงหายใจออก ให้สายวัดแนบลำตัว ไม่รัดแน่น สายวัดวางในแนวระดับขนานกับพื้น (กรม คร.แนะวัดรอบเอวที่ระดับกึ่งกลางระหว่างปลาย ของกระดูกซี่โครงซี่สุดท้ายกับขอบบนของกระดูกเชิงกราน)
อ้วนลงพุง กล้ามเนื้อ FFA ไขมันในช่องท้องมากเกิน ตับ ตับอ่อน ภาวะต้านอินซูลิน หลอดเลือดแดง หดตัวมาก คลายตัว FFA ตับ น้ำตาลออกมาก ไขมันออกมาก ตับอ่อน หลั่งอินซูลิน อ้วนลงพุง Intra-Abdominal Adiposity ไขมันในช่องท้องมากเกิน
ปัจจัยเสี่ยงทางสรีรวิทยา ปัจจัยเสี่ยงที่ เปลี่ยน แปลงไม่ได้ อายุ เพศ พันธุกรรม ผลลัพธ์สุดท้าย โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหัวใจจากความดันสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ ปัจจัยเสี่ยงทางสรีรวิทยา ความดันสูง เบาหวาน ภาวะต้านอินซูลิน ไขมันชนิดเลวสูง(LDL) โรคอ้วน ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยน แปลงได้ ขาดการออกกำลัง กินอาหารที่อุดมด้วยไขมัน เกลือ พลังงาน สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์มาก
ความเสี่ยงต่อสุขภาพ ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นมาก (มากกว่า 3 เท่า) เบาหวานชนิดที่ 2 โรคถุงน้ำดี ไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหยุดหายใจขณะหลับ หายใจขัด
ข้อเสื่อม (เข่า สะโพก) กรดยูริกในเลือดสูง (เก๊าท์) ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นปานกลาง (2-3 เท่า) โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง ข้อเสื่อม (เข่า สะโพก) กรดยูริกในเลือดสูง (เก๊าท์)
ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นน้อย (1-2 เท่า) มะเร็ง (เต้านม มดลูก ลำไส้) ฮอร์โมนระบบสืบพันธุ์ผิดปกติ กลุ่มอาการถุงน้ำรังไข่ มีบุตรยาก ผลแทรกซ้อนจากการดมยาสลบ ความผิดปกติของทารกในครรภ์
สวัสดี