การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
ปัญหาการวิจัย (RESEARCH PROBLEM) ปัญหาการวิจัยคืออะไร (WHAT) ทำไมต้องวิจัย (WHY) มีวิธีดำเนินการวิจัยอย่างไร (HOW) -ทำกับใคร (WHO) ที่ไหน (WHERE) เท่าไร (HOW MANY)
ปัญหาการวิจัย (RESEARCH PROBLEM)(ต่อ) มีศักยภาพทำได้หรือไม่ , เกี่ยวข้องอย่างไร มีงบประมาณเท่าไร ,เวลานานเท่าไร -น่าสนใจ สำคัญอย่างไร
ปัญหาทางการศึกษา (Educational Problem) ข้อขัดแย้ง ข้อสงสัยระหว่างสภาพการณ์ทางการศึกษาที่เป็นอยู่กับสภาพที่ควรจะเป็น (เป้าหมายทางการศึกษา)
ปัญหาการวิจัย สิ่ง (สภาพ) ที่ก่อให้เกิดความสงสัย ข้อสงสัยที่ต้องการคำตอบ -สภาพการณ์ที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์
For beginning researchers, selection of a problem is the most difficult step in the research process. Some graduate student spend many anxiety-ridden days and sleepless nights worrying about where they are going to find the problem they need for their thesis.
ปัญหา (Problem) ข้อขัดแย้ง ข้อสงสัยระหว่างสภาพการณ์กับทฤษฎี / แนวคิด / เป้าหมายที่ควรจะเป็น (ต้องการให้เป็น)
ปัญหาทางการศึกษา (Educational Problem) ข้อขัดแย้ง ข้อสงสัยระหว่างสภาพการณ์ทางการศึกษาที่เป็นอยู่กับสภาพที่ควรจะเป็น (เป้าหมายทางการศึกษา)
สภาพการจัดการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นจริง การจัดสภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้น ปัญหา สภาพการจัดการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นจริง การเรียนการสอน
ปัญหาคืออะไร แนวทางในการ สาเหตุ แก้ปัญหา เกิดจากอะไร มีอะไรบ้าง ปัญหาการวิจัย (Research Problem) สภาพที่ต้องการให้ เกิดขึ้น (คาดหวัง) สภาพที่เกิดขึ้นจริง ความแตกต่างระหว่าง สิ่งที่คาดหวังกับ สิ่งที่เป็นจริง วิธีแก้ปัญหา ที่ดีที่สุด ชื่อเรื่อง
ปัญหา รู้ แก้ไขที่จุดไหน รู้แล้วไม่ต้องแก้ วิจัย ไม่ต้องวิจัย แก้ไขที่จุดไหน
การกำหนดปัญหาในการวิจัย ศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษา เป็นประเด็นที่น่าสนใจ ไม่ซ้ำซ้อนกับปัญหาของผู้อื่น กำหนดขอบเขตปัญหาให้ชัดเจน ใช้ภาษาที่เป็นวิชาการ กะทัดรัด ใช้คำชัดเจน มีข้อมูลอ้างอิงน่าเชื่อถือ - ไม่กว้างเกินไป
การกำหนดปัญหาในการวิจัย(ต่อ) นำไปใช้ประโยชน์เชิงปฏิบัติได้ เกิดความรู้ใหม่ อยู่ในวิสัยที่จะทำได้ ไม่เพ้อฝัน คำนึงถึงเวลา งบประมาณ ความรู้ เป็นปัญหาในสาขาที่ตนเองศึกษา - ทันสมัย มีคุณค่า ทันสมัย
กำหนดปัญหาการวิจัยคิดถึงอะไรบ้าง สนใจปัญหาใด ต้องการคำตอบอย่างไร ปัญหาลึก แคบ กว้างเพียงใด ข้อมูลเพียงพอหรือไม่ ประชากร ตัวอย่างคือใคร - มีการวางแผนเรื่อง เงิน เวลาหรือไม่
กำหนดปัญหาการวิจัยคิดถึงอะไรบ้าง(ต่อ) ใช้เครื่องมืออะไร สร้างหรือพัฒนาอย่างไร มีความรู้ ความสามารถในเรื่องนั้น ๆ ใช้ประโยชน์ ประยุกต์ได้หรือไม่ ได้ความรู้ ทฤษฎีใหม่ หรือไม่ อยู่ในสาขาของตนหรือไม่ -ทันสมัย ทันเหตุการณ์ มีคุณค่าหรือไม่
ข้อควรคำนึง เลือกปัญหาช้าโดยรอให้เรียนวิชาต่าง ๆ จบแล้ว เลือกปัญหาที่ผู้อื่นบอก ผู้วิจัยขาดความรู้ ความสามารถ เลือกปัญหาที่ยากเกินศักยภาพ - เลือกปัญหาโดยไม่ได้คิดถึงขั้นตอนการวิจัย
ข้อควรคำนึง (ต่อ) ไม่รู้สถิติ เลียนแบบปัญหาของผู้อื่นโดยที่ตนไม่เข้าใจ ฝากความหวังไว้กับอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อน บริบท เลือกปัญหาโดยขาดทฤษฎี แนวคิด สนับสนุน - ได้ปัญหาในช่วงใกล้หมดเวลา ขาดการวางแผน
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัญหาการวิจัยคืออะไร ความเป็นมาของปัญหา รู้ได้อย่างไรว่าเป็นปัญหา (Indicator), Criteria, WHO บอก ความสำคัญของปัญหาจะเกิดประโยชน์ ? - ไม่ทำวิจัยแล้วจะวิกฤตอย่างไร - ไม่ทำวิจัยแล้วจะเสียหายอย่างไร - จำเป็นหรือไม่ที่ต้องแก้ไข
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา(ต่อ) ปัญหานี้จะแก้ไขได้อย่างไร (วิธีแก้ไข) เกิดกับใคร จะแก้ไขใคร ทำ HOW ได้คำตอบ - เงิน - คน - เวลา ฯลฯ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา กล่าวถึงความเป็นมา , สภาพปัญหาในปัจจุบัน แนวคิดของผู้เชี่ยวชาญ , ผลงานวิจัย, รายงาน แสดงให้เห็นว่ายังขาดข้อมูลที่เป็นคำตอบไม่เฉพาะเจาะจงในตัวปัญหา ชี้ให้เห็นว่าควรทำเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ช่วยเสริมให้สมบูรณ์ ชี้ให้เห็นว่าจำเป็นเร่งด่วน
ทราบได้อย่างไรว่าเป็นปัญหาหรือต้องการพัฒนาหรือไม่ สังเกตพฤตกรรมนักเรียน ทดสอบผลสัมฤทธิ์ ลองให้นักเรียนปฏิบัติ - ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ
มีปัญหาอะไร แก้ปัญหาอย่างไร จะแก้ปัญหากับใคร ทำเรื่องอะไร ทำเพื่ออะไร คาดหวังผลที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร
SOURCES OF PROBLEMS in the classroom, school, community Technological Changes - Curriculum development
SOURCES OF PROBLEMS (ต่อ) Graduate academic experience Classroom lecture Class discussion Seminar reports out of class exchange of ideas with professor, advisor Reading assignments in textbooks, research report, term papers -Journals