การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมชลประทาน
กรอบการนำเสนอ ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ที่มา สถานการณ์ปัจจุบัน เจตนารมณ์ของแต่ละหมวด ก้าวต่อไปของ PMQA 2 2
เพื่อความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย การปฏิบัติงานมีคุณภาพ ทำอย่างไร การปฎิรูประบบราชการ เป้าหมาย เพื่อความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย การปฏิบัติงานมีคุณภาพ ทำอย่างไร ปรับโครงสร้างกรมชลประทาน วางระบบการทำงานใหม่ นำเครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่มาใช้
การใช้ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อการพัฒนาระบบราชการ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (มาตรา 6,8,9,12, 13,16) การนำองค์กร (มาตรา 8,9, 12,16,18,20,23, 27,28,43,44,46) ผลลัพธ์ การดำเนินการ (มาตรา 9,12, 16,18,45) การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31, 38-42,45) การจัดการกระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39)
วัตถุประสงค์ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจประเมินการดำเนินการของส่วนราชการในประเด็นต่าง ๆ ตามหมวดของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทำให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงกระบวนการของส่วนราชการ นำไปสู่การยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่อไป 7 หมวด ได้แก่ หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
ทำไมต้อง PMQA PMQA มีพัฒนาการและมาตรฐานที่เป็นสากล : พัฒนามาจาก MBNQA และ TQA มีเกณฑ์ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป PMQA มีกรอบแนวทางที่ชัดเจนและครอบคลุม : ครอบคลุมหลักการบริหารจัดการที่ดี มีแนวทางการประเมินและพัฒนาองค์กรที่ชัดเจน องค์กรใช้ PMQA เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง : สามารถใช้เกณฑ์การประเมินตนเองได้ และถ้าต้องการรับรางวัล มีบุคคลภายนอกมาประเมิน
รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Japan Canada USA Australia EU Singapore Thailand 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 2001 2006 Deming Prize Canada Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award Thailand Quality Award Public Sector Management Quality Award Malcolm Baldrige National Quality Award Quality Performance / Organizational Excellence
1987 Malcolm Baldrige National Quality Award PMQA คืออะไร ? 1987 Malcolm Baldrige National Quality Award หลักคิด : 11 Core Values 1.การนำองค์การอย่างมีวิสัยทัศน์ 2.ความรับผิดชอบต่อสังคม 3.การให้ความสำคัญกับพนักงานและคู่ค้า 4.ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า 5.การมุ่งเน้นอนาคต 6.ความคล่องตัว 7.การเรียนรู้ขององค์การและแต่ละบุคคล 8.การจัดการเพื่อนวัตกรรม 9.การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง 10. การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 11.มุมมองเชิงระบบ หลักปฏิบัติ : 7 Category 1.การนำองค์กร 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3.การให้ความสำคัญกับลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสีย 4.การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5.การจัดการทรัพยากรบุคคล 6.การจัดการกระบวนงาน 7.การมุ่งเน้นผลลัพท์ Performance / Organizational Excellence
PMQA คืออะไร คือการนำเกณฑ์และแนวทางการบริหารองค์กรที่เป็นเลิศ ซึ่งได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานสากลระดับโลกมาประยุกต์ใช้พัฒนาระบบบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ โดยอาศัยหลักการประเมินองค์กรด้วยตนเอง เป็นการทบทวนสิ่งที่องค์กรดำเนินการอยู่ในปัจจุบันเทียบกับเกณฑ์PMQA เมื่อตรวจพบว่าเรื่องใดยังไม่อยู่ในระดับที่น่าพอใจเมื่อเทียบกับเกณฑ์องค์กรจะได้พัฒนาวิธีปฏิบัติเพื่อปรับปรุงองค์กรไปสู่ความสำเร็จโดยมีแรงจูงใจในรูปของรางวัลคูณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การดำเนินงาน ขององค์กร ในปัจจุบัน ดำเนินการ ตามแผน เปรียบเทียบกับ แนวทางและเกณฑ์ คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ วางแผนการพัฒนา และปรับปรุงองค์กร ทราบว่าองค์กรมี โอกาสในการปรับปรุง การดำเนินงานในด้านใดบ้าง
แนวคิดพื้นฐาน Basic Concept ( จริงๆ) การดำเนินงานของ องค์กรในปัจจุบัน ดำเนินการปรับปรุง ADLI เปรียบเทียบกับ เกณฑ์ 52 คำถาม วางแผนพัฒนา และปรับปรุง องค์กร LeTCLi ทราบโอกาสในการ ปรับปรุง OFI
ความเป็นเลิศขององค์กรภาครัฐ อะไรคือความเป็นเลิศขององค์กรภาครัฐ ประชาชนได้รับการบริการ/ดูแลอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิผล พันธกิจที่ได้รับมอบหมายสามารถบรรลุได้อย่างมีประสิทธิผล การดำเนินการของภาครัฐที่มีประสิทธิภาพสูง รวดเร็ว โปร่งใส การใช้จ่ายงบประมาณมีประสิทธิภาพสูง คุ้มค่า มีผลิตภาพสูง ประเทศชาติมีความมั่นคง และศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้น
ความเชื่อมโยงของระบบจัดการ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ คำรับรองการปฏิบัติราชการ หลักการเศรษฐกิจพอเพียง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หลัก 4 ป. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3.การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS
กรอบการนำเสนอ สถานการณ์ปัจจุบัน 16 16
PMQA ในกรมชลประทาน ปี 2549 เป็นตัวชี้วัดเลือกในคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมตั้งคณะกรรมการฯ และจัดทำรายงานตอบเกณฑ์ 105 คำถาม ปี 2550 เป็นตัวชี้วัดบังคับตามคำรับรองฯ และขอสมัครเป็นหน่วยงานนำร่อง ( Fast Track ) ในการนำเกณฑ์ฯ มาใช้ ปี 2551 ดำเนินการตามข้อกำหนดของการเป็นหน่วยงานนำร่อง คือให้หน่วยงานในกรมฯ นำเกณฑ์คุณภาพฯไปใช้ สชป.1-17
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551 2549 2550 2551 น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) วัดการดำเนินการแบบMilestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดการดำเนินการแบบ Milestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร น้ำหนักร้อยละ 22 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” 18
แผนปรับปรุงองค์กรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 แผนปรับปรุงองค์กรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 – 2551 แผนปรับปรุงองค์กรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 แผนปรับปรุงองค์กรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 1. การพัฒนากระบวนการจัดการข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. การปรับปรุงกระบวนงานว่าด้วยการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประเมินตนเอง ครั้งที่ 1 จำนวน 6 แผน การจัดทำแผนการประเมินวิสัยทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมเป้าประสงค์ระยะสั้นระยะยาว และผลดำเนินการที่คาดหวัง แผนการจัดระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมสู่ระดับสำนัก/กอง โครงการพัฒนากระบวนการจัดการข้อร้องเรียน แผนปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศกลาง กรมชลประทาน การจัดทำแผนกลยุทธ์เสริมสร้างความผ่าสุก ความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากรในการปฏิบัติงาน โครงการจัดทำวิธีการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า ประเมินตนเอง ครั้งที่ 2 จำนวน 8 แผน แผนการจัดทำระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี แผนบริหารจัดการความเสี่ยง แผนการรับฟังความคิดเห็นยุทธศาสตร์กรมชลประทาน แผนพัฒนากระบวนการจัดการข้อร้องเรียน แผนปรับปรุงระบบวัดความพึงพอใจ แผนพัฒนาระบบติดตามผลการปฏิบัติงาน โครงการจัดทำคลังข้อมูลผู้มีศักยภาพสำหรับตำแหน่งทางการบริหารของสายงานหลัก กรมชลประทาน โครงการจัดทำตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมชลประทาน 19
กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ มุ่งเน้นให้หน่วยงานปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละหน่วยงานมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น” 20
กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 21
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20 22
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2553 2554 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 1 2 5 จังหวัด 4 3 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 5 4 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
หน่วยราชการนำร่อง ( Fast Track) 2550 ระดับกระทรวง : กระทรวงพลังงาน (ทุกหน่วยงานระดับกรมในกระทรวง) ระดับกรม : 9 กรม กรมการค้าภายใน กรมชลประทาน สำนักงาน ก.พ.ร. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร สำนักปลัดกระทรวงวิทย์ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต ระดับจังหวัด : จังหวัดนครราชสีมา (30 ส่วนราชการภูมิภาคของจังหวัด)
การจัดการบ้านเมืองที่ดี Public Sector Management Quality Award (PMQA) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2549 เป้าหมาย วิธีการ/เครื่องมือ ผลงาน พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี Blueprint (ลดขั้นตอน) HR Scorecard Competency e-Government/KM Strategy ID แผน ยุทธศาสตร์ (ปฏิบัติราชการ) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2547 ประชาชน คือ ศูนย์กลาง ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ผลลัพธ์ มุมมอง 4 มิติ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) Yes สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ได้รับรายงานป้อนกลับ No การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 4 3 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)
การตอบคำถาม หมวด 1-6 (อะไร และ อย่างไร) หมวด 7 อย่างไร ADLI A – Approach D-Deploy L-Learning I- Integration หมวด 1-6 (อะไร และ อย่างไร) Le –Level T-Trend C-Comparison Li-Linkage หมวด 7
หมวด 1-6 A D L I Deploy ใช้แนวทางเพื่อตอบสนอง ข้อกำหนดต่างๆ และ ใช้อย่างสม่ำเสมอ (consistance) Approach วิธีการเพื่อให้กระบวนการบรรลุผล วิธีการนั้นใช้ซ้ำได้และมีข้อมูล& สารสนเทศที่เชื่อถือได้ A D L I Integration วิธีที่ใช้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของ หน่วยงานแผนงาน การดำเนินงาน ผลลัพธ์ มีความสอดคล้องกันทุกวิธีการที่ใช้ Learning การปรับปรุงวิธีการโดยใช้ P-D-C-A มีการแบ่งปันความรู้ และปรับปรุง มีนวัตกรรม ทั้งในและนอกหน่วยงาน
กรอบการนำเสนอ เจตนารมณ์ของแต่ละหมวด 30 30
คำถามตามเกณฑ์ PMQA หมวด1-7
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (1) 3 การสื่อสารทิศทางองค์กร (2)2 นโยบาย 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9 what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การเลือกชุมชน การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน การมีส่วนร่วมของบุคลากร LD 1 LD 5,6 LD 4 LD 1 LD 2 LD 6 LD 3 LD 7 32
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. การจัดทำ ยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี ดูความท้าทาย ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1 วิธีการถ่ายทอด 5.2 การจัดสรรทรัพยากร 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน (18)6 แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (19)7 what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.1 4ปี 7.2 1ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ SP 4 SP 1 SP 1 SP 7 SP 2 SP 2 การปรับปรุงกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ นำผลการทบทวนการดำเนินงาน ผลจากการประเมิน SP 3 SP 6 SP 5 33
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ สนองความคาดหวัง สร้างความประทับใจ มีภาพลักษณ์ที่ดี มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ 5.1การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย สามารถติดต่อ ขอข้อมูล ขอรับบริการ ขอร้องเรียน 5.2การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร ระบบติดตามการปฏิบัติ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน กระบวนการจัดการ วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที รวบรวมและวิเคราะห์นำไปเพื่อการปรับปรุง (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้สวนเสีย 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ สร้างความประทับใจ ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ปรับปรุงการทำงาน (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที นำไปใช้ต่อได้ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ ให้เหมาะสม ทันสมัย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภท/กลุ่ม การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ ให้เหมาะสม ทันสมัย CS1 CS5 CS 6 CS2 CS7 CS8 CS9 CS10 CS3 CS4 34 34
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (กรม) 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ (41)9 การจัดการความรู้ (KM) รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ ความครอบคลุม ความถูกต้อง ความทันสมัย ความรวดเร็ว ความเชื่อมโยง ความน่าเชื่อถือ ความสามารถในการเข้าถึง ความสามารถในการตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ความปลอดภัย การรักษาความลับ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล ให้เหมาะสม ทันสมัย 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ จากการเปลี่ยนแปลงภายใน จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก (36)4 what ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร ทบทวนผลดำเนินงาน วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) ให้พร้อมใช้งาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ปลอดภัย ให้เชื่อถือได้ ใช้งานง่าย (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย IT 7 IT 4 IT 1-3 IT 5,6 IT 1 35
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (43)1 การจัดการระบบงาน 1.1 ระบบที่เป็นทางการ 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ เพื่อเกิดความร่วมมือ เพื่อความคล่องตัว เพื่อการกระจายอำนาจ เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (51)9 การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของ บุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม ให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัยอาชีวอนามัยสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ (53)11 การบริหารการฝึกอบรม 11.1การหาความต้องการการฝึกอบรม 11.2การนำความต้องการการอบรมมาพัฒนาบุคลากร 11.3การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร (54)12 การพัฒนาบุคลากร 12.1แบบเป็นทางการ 12.2แบบไม่เป็นทางการ (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร 6.1 การสรรหาว่าจ้าง 6.2 การรักษาบุคลากร ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือองค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน HR 3 (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (Individual Scorecard) 4.1การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานรวมถึงการแจ้งผลเพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน 4.2การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ HR 3 HR 3 HR 2 HR 4 HR 5 HR 3 36
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน ถูกสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย อุปกรณ์ให้มีความเหมาะสมในงาน การกำหนดตัวชี้วัด การมีส่วนร่วมของบุคลากร (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการ ให้ตรงความต้องการบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (62)20 การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจของบุคลากร 20.1การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจบุคลากร ทุกระดับทุกประเภทของบุคลากร เป็นทางการ ไม่เป็นทางการ 20.2การกำหนดและใช้ตัวชี้วัดประเมินความพอใจ (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร เพื่อจัดลำดับการปรับปรุงความพอใจบรรยากาศและสภาพแวดล้อม HR 1 HR 1 HR 1 HR 1 37
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 5.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 5.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ 6.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 6.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน PM1 (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 11.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 11.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ 12.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 12.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน PM2 PM3 PM4,5 PM4,5 PM6 PM6 38
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านประสิทธิผล RM 1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จตามมเป้าหมาย 60 65 70 75 80 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ 85 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 39) RM 4 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 40) RM 5 กรณีส่วนราชการที่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน กรณีส่วนราชการไม่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม 68 92 71 93 74 94 77 95 96 RM 6 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM 7 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร RM 8 ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ RM 9 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 90 100 RM 10 ร้อยละความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ
กรอบการนำเสนอ ก้าวต่อไปของ PMQA 41 41
ผู้นำกับการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการนำระบบพัฒนาคุณภาพมาใช้
ท่านจะช่วยองค์กรได้อย่างไร ทำงานตามแผนงานที่ อธช. ประกาศเป็นนโยบาย ระบบการจัดเก็บเอกสาร ระบบการสื่อสาร ปรับปรุงกระบวนงานเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ (ลดขั้นตอน/ควบคุมต้นทุน)
บุคลากรที่สำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ บุคลากรที่สำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ผู้บริหารทุกระดับ - ชี้นำ ผลักดัน และส่งเสริม Change Agent - ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ผู้ตรวจประเมินภายใน - ประเมินองค์กรและชี้ให้เห็นประเด็นที่ควรปรับปรุง วิทยากรตัวคูณ – ขยายผลสร้างความรู้ความเข้าใจ บุคลากรทุกคน - ร่วมมือร่วมใจดำเนินการตามแผนปรับปรุงองค์กร
รวมใจเป็นหนึ่ง เพื่อองค์กรของเรา Happy & enjoy
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (Public Sector Development Division) กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Change Agent Knowledge Worker Cross Functional Team
หิวแล้ว หาอะไรทานกันเถอะค่ะ coffee break หิวแล้ว หาอะไรทานกันเถอะค่ะ