เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงาน ควบคุม และ ระบบออโตเมชั่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
Software.
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
Visual Basic.
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
Object-Oriented Analysis and Design
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
Operating System ฉ NASA 4.
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
คุณสมบัติของซอฟท์แวร์ SCADA
ACTUATOR SENSOR INTERFACE
ระบบกลไก.
ส่วนประกอบของสกาดา 1. Field Instrumentation 2. Remote Station
การควบคุมระบบออโตเมชั่น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Chapter 2 Database systems Architecture
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคำนวณอีเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบมาใช้ในการจัดการคำนวณงานทางธุรกิจ เครื่องจักรทางอีเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานได้โดยอัตโนมัติตามความต้องการของผู้ใช้
Operating System โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงาน ควบคุม และ ระบบออโตเมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงาน ควบคุม และ ระบบออโตเมชั่น

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น 1. Advanced control กลยุทธ์การควบคุมกระบวนการผลิตที่เหนือกว่าวิธี PID loop control เช่น การควบคุมแบบ feedforward, dead-time compensation, lead/lag, adaptive gain, neural networks และ fuzzy logic 2. Brushless motor คือมอเตอร์ชนิดที่ไม่แปรงถ่าน หรือมอเตอร์ซิงโครนัส 3 เฟส ที่ทำงานโดยอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลังเป็นสวิตในการตัดต่อกระแสที่จ่ายให้กับขดลวดมอเตอร์ โดยที่ชนิดของมอเตอร์ จะพิจารณาตามลักษณะรูปคลื่นกระแสและคุณสมบัติของแรงบิดหรือทอร์ค โดยจะนิยมเรียกว่า brushless dc motor ในกรณีที่รูปแบบของกระแสและทอร์คของมอเตอร์ที่ใช้มีลักษณะเป็นแบบสี่เหลี่ยม (trapezoidal current/torque ) และจะเรียกว่า brushless ac motor หรือเรียกง่ายๆว่า brushless เมื่อลักษณะกระแสและทอร์ค เป็นรูปคลื่นซายน์ ( sinusoidal current/torque format )

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น 3. Fieldbus architecture—คือสถาปัตยกรรมของการควบคุม (Control architecture ) ซึ่งใช้การสื่อสารข้อมูลสองทางแบบดิจิตอลระหว่างอุปกรณ์สนามแบบอัจฉริยะ (intelligent field devices) และระบบควบคุมหรือระบบมอนิเตอร์ ( control/monitoring systems)โดยใช้สายสัญญาณเส้นเดียว 4. Human-machine interface—คือวิธีการแสดงสถานะของเครื่องจักร (Machine status) ,สัญญาณเตือน (Alarms) ,ข้อความ (Messages) และการวินิจฉัยปัญหา(diagnostics) ในลักษณะของรูปภาพบนคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นสัญญาณแจ้งเตือนให้กับผู้ใช้งาน 5. IEC 61131—คือมาตรฐานสากลสำหรับเป็นเครื่องมือในการเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักร ซึ่งมีด้วยกัน 5 มาตรฐาน

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น 6. Intelligent field devices—คืออุปกรณ์สนามแบบอัจฉริยะที่โครงสร้างประกอบด้วยไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor-based devices) ซึ่งสามารถประมวลผลกระบวนการได้หลายตัวแปร ,เพิ่มประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูล ,วินิจฉัยผลลัพธ์ที่ได้ และกำหนดฟังก์ชั่นในการควบคุมการทำงาน 7. Intelligent I/O modules—คือ อินพุต และ เอาท์พุต โมดูล (I/O module ) ซึ่งมีความเป็นอัจฉริยะหรือมีความฉลาดอยู่ในตัว ซึ่งสามารถรับค่าทางอินพุต และส่งคำสั่งควบคุมค่าของเอาท์พุตโดยผ่านทาง PLC หรือ คอนโทรลเลอร์ ( control controller) สำหรับการตัดสินใจที่เป็นแบบรูทีน ( routine decision making) ได้เลย 8. Internet—คือการรวบรวมข้อมูล และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารจากหลายๆ ด้าน จากที่สถานทต่าง ๆ เช่นข้อมูลทางอุตสหกรรม ,ข้อมูลการค้าขาย ,ข้อมูลการศึกษา,ข้อมูลรัฐบาล และเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer networks)

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น 9. Interoperability—คือการใช้สินค้าหรืออุปกรณ์ที่สามารถนำมาทดแทนกันได้ จากสินค้าหรืออุปกรณ์ที่มีเครื่องหมายการค้าแตกต่างกัน 10. MES—คือระบบที่ช่วยตัดสินใจในการผลิต (Manufacturing Execution System ) โดยทำหน้าที่ส่งข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการตัดสิน ,แนวทางในการเริ่มต้น และแนวทางในการตอบสนองเพื่อช่วยให้กระบวนการผลิตเหมาะสมและสอดคล้องกับการ สั่งซื้อสินค้าจากลูกค้า 11. Microsoft Windows Operating Systems—คือระบบปฏิบัติการที่ใช้กันอย่างกว้างขวางกับพีซี PC ตัวอย่างเช่น Microsoft NT ก็จะใช้เป็น desktop และ server package , Microsoft 95 ก็จะประกอบด้วย self-contained operating system และ DOS ส่วน Microsoft CE จะลักษณะที่มีขนาดเหมาะสมกับการงานที่ใช้ ซึ่งทั่วๆไปจะใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพา ( Handheld PCs)

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น 12. Object-oriented software—ซอฟต์แวร์ที่ใช้กลุ่มโค๊ดในการสร้างรูปแบบจำลองการใข้งานในเชิงวัตถุ ( Object techniques) ซึ่งประกอบด้วย COM/DCOM, Java และ CORBA standards 13. OLE for process control (OPC)—Object linking & embedding (OLE) ซึ่งจะจัดการเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปของวัตถุ เพื่อให้แอปพลิเคชั่นต่างๆ ดึงข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการรันโปรแกรมได้ ซึ่งลักษณะของ OPC ก็ใช้แนวความคิดเดียวกันนี้แต่ใช้ในงานทางด้านควบคุมการผลิด. 14. Open controller—คือคอนโทรลเลอร์ที่มีลักษณะคล้ายกับคอนโทรลเลอร์ที่ใช้งานทั่วอย่างเช่น PLC แต่คอนโทรลเลอร์นี้จะใช้งานบนวินโดว์ ควบคู่กับซอฟต์แวร์คอนโทรล software control)

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น 15. Open systems—คือ Hardware/software ที่ออกแบบให้ยืดหยุ่นได้ ซึ่งทำให้ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ต่างยี่ห้อ และต่างระบบทดแทนกันได้ 16. PC control—คือกลยุทธ์การควบคุมในรูปแบบของซอฟต์แวร์ (Software-configured control strategy )โดยใช้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์มาตรฐานและใช้ซอฟต์แวร์ควบคู่ 17. PID (Proportional, integral, derivative control)—คือโมดูลอินพุต และ เอาท์พุต แบบอัจฉริยะ ( intelligent I/O module) หรือโปรแกรมคำสั่งซึ่งใช้สำหรับ automatic closed-loop operation ของกระบวนการควบคุมแบบวงรอบ process control loop

เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น เทคโนโลยี 20 อย่างที่ต้องรู้ในงานควบคุม และ ระบบออโต เมชั่น 18. Programmable Logic Controller (PLC)—คือระบบควบคุมแบบโซลิด-สเตท (solid-state control system) ลักษณะโครงสร้างจะประกอบด้วยหน่วยความจำที่ผู้ใช้สามารถโปรแกรมได้ (user-programmable memory) สำหรับเก็บคำสั่งเพื่อใช้ในการจัดลำดับการควบคุมและกำหนดฟังก์ชั่นการทำงานแบบอัตโนมัติ 19. S88—คือมาตรฐานสากลที่พัฒนาขึ้นโดยองค์กร ISA เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้แนวความคิดแบบ object-oriented นำไปกำหนดและสร้างรูปแบบจำลองสำหรับควบคุมกระบวนการผลิตได้ 20. Soft logic—คือลักษณะของคอนโทรลเลอร์ที่อยู่ในรูปซอฟต์แวร์ ซึ่งสามารถใช้งานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ซึ่งการใช้งานส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะงานที่ต้องการเก็บข้อมูลและและประมวลผลข้อมูลจำนวนมากๆ และยังสามารถจะติดต่อสื่อสารกับระบบเน็ตเวิร์คได้อีกด้วย