ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

การใช้ MessageBox-InputBox
VBScript.
Introduction to C Programming
การเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง (ต่อ)
Department of Computer Business
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
เฉลย Lab 10 Loop.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Visual Basic.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
กล่องข่าวสาร (Message Box)
SCC : Suthida Chaichomchuen
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
Advanced VB (VB ขั้นสูง)
การประยุกต์ VB บทที่ 5.
Visual Basic บทที่ 1.
Looping การวนรอบ บทที่ 4.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
เฉลย Lab 9 Decision.
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
LOGO SCCS031 Principle of Computer Programming Thinaphan Nithiyuwith Program of Computer Science & Information Technology suchada/
Chapter 6 Decision Statement
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
Selection Nattapong Songneam.
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
คำสั่งในการ ทำงานเบื้องต้น ของโปรแกรม. คำสั่งประกาศตัวแปร ชนิดของข้อมูล ชื่อตัวแปรที่ 1, ชื่อตัวแปรที่ 2; ตัวอย่าง Double score, total;
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven คลิ้กเมาส์, กดปุ่ม, ดับเบิ้ลคลิ้ก โปรแกรมเมอร์จะต้องเขียนโปรแกรมเพื่อดักการทำงานของเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นกับคอมโพเนนท์แต่ละตัว Click at button process

กรอบของการเขียนโค๊ด เราจะต้องเขียนโค๊ดให้อยู่ในขอบเขตที่ถูกต้อง จะมีคำว่า Private Sub เริ่มต้น และปิดท้ายด้วย End Sub Event ชื่อคอมโพเนนท์ เขียนโค๊ดลงตรงช่วงนี้

เริ่มต้นการเขียนโปรแกรม ก่อนการเขียนโปรแกรม เราต้องรู้จักกับ ประเภทข้อมูล ตัวแปร คำสั่งต่างๆ การวนรอบ

ประเภทข้อมูล (Data Type) ข้อมูลทุกอย่างในคอมพิวเตอร์จะต้องมีประเภทข้อมูล เช่น “สมชาย” , “500”, “652.23” เป็นต้น ประเภทข้อมูลสำหรับ VB มีดังนี้ Boolean (จริง-เท็จ), Byte (ตัวเลขจำนวนน้อยๆ), Currency (ค่าเงิน), Date(วันเดือนปี), Double(จำนวนทศนิยมขนาดยาว), Integer(จำนวนเต็ม), Long (จำนวนเต็มขนาดยาว), Single (จำนวนทศนิยมขนาดเล็ก)String (ข้อความ), Variant (เป็นได้ทุกประเภท)

ตัวแปร (Variable) เมื่อมีข้อมูลแล้ว ก็ต้องมีที่เก็บข้อมูล ตัวแปรคือ “ที่เก็บข้อมูล” เมื่อเราสร้างตัวแปร จะมีการจองพื้นที่ในหน่วยความจำ รูปแบบการประกาศตัวแปร Dim a as Integer Dim b as String Dim c as Double ตัวที่อยู่ข้างหลังคือ Data Type

กฎเกณฑ์การตั้งชื่อตัวแปร ห้ามตั้งชื่อตัวแปรให้ตรงกับชื่อสงวน (Reserved Words) ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมาย ในไฟล์เดียวกันไม่ควรตั้งชื่อตัวแปรซ้ำกัน ไม่ควรสร้างตัวแปรหากไม่ใช้ ตัวแปรบางตัวอาจนำมาใช้ซ้ำได้ อาจมองว่าตัวแปรเป็น กล่อง ข้อมูลเป็น ของในกล่อง ก็ได้

ทดลอง สร้างฟอร์มขึ่นมาตามด้านล่าง Label1 Text1 Text = “” Command1 caption = กด

เขียนโปรแกรม Double Click ที่ปุ่มแล้วเขียนโปรแกรมลงไปดังนี้ สั่งโปรแกรมให้ Run

อธิบาย Dim salary as Double คำสั่ง CDbl( ) tax = salary * 0.07 เป็นการประกาศตัวแปรชื่อว่า salary ที่มีประเภทเป็น Double (จำนวนที่มีทศนิยมได้) คำสั่ง CDbl( ) แปลงข้อความ จาก Text ให้มีประเภทเป็น Double tax = salary * 0.07 คูณค่าที่อยู่ใน salary กับ 0.07 แล้วเก็บในตัวแปร tax MsgBox ("คุณต้องเสียภาษี = " & tax & " บาท") ส่งข้อความทางกล่องข้อความ เครื่องหมาย & เป็นการนำข้อความมาชนกับค่าในตัวแปร

ทดลองอีก Label1 Text1 Label2 Caption = “”

Double Click ที่ปุ่มแล้วเขียนโปรแกรมลงไปดังนี้ สั่งโปรแกรมให้ Run

ลองทำเอง ให้แก้ไขโปรแกรมที่ผ่านมา โดยให้เขียนที่ Label2 ว่า Hello ตามด้วยชื่อ และหลังจากนั้นให้แสดงกล่องข้อความว่า คุณ (ชื่อ) น่ารักจัง …..

Data Type ที่ใช้บ่อย Integer -> ตัวเลขจำนวนเต็ม Double -> ค่าทศนิยม String -> ข้อความตัวหนังสือ Dim a as Integer a = 500 a = 500 * 5 MsgBox(“a = “ & a) ลองทายดูว่าโปรแกรมนี้ทำอะไร ทดลองเขียนดู

ขอบเขตของตัวแปร ตัวแปรมีขอบเขตของการทำงาน หากเราประกาศตัวแปรภายในขอบเขตของ Block ใดๆ ตัวแปรก็จะมีขอบเขตแค่ใน block นั้น (Private) ทดลอง Label1 Text1 Command1 Command2 Label2

เขียนโค๊ด Double Click ที่ Command1 Double Click ที่ Command2 เมื่อ run จะเห็นว่าการกดปุ่ม ปรามาส จะไม่สามารถแสดงชื่อได้

คราวนี้ตัวแปรเป็น public แก้ไข สังเกตว่าใน Code Window จะมี block ต่างๆรวมกันอยู่แล้ว ให้เขียนลงใหม่ทั้งหมดดังนี้ คราวนี้ตัวแปรเป็น public

อธิบาย การประกาศตัวแปรด้านบน (player) สามารถคลิ้กที่ช่อง Event ไปที่ General เป็นการประกาศตัวแปรแบบ public ซึ่งสามารถใช้ตัวแปรนี้ได้ทั้งเอกสาร เมื่อกดปุ่ม ทักทาย จะมีการกำหนดค่าให้ player เป็นค่าจาก Text1 และส่งข้อความไปที่ Label2 เมื่อกดปุ่ม ปรามาส จะนำค่า player มาแสดงผลที่ Label2 ลองคิดดูว่า หากกดปุ่ม ปรามาส ก่อนจะเป็นอย่างไร