ท่าเรือพาณิชย์แหลมฉบัง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง วันที่สำรวจ ๑๕ ก.ค. ๔๘ ลักษณะน้ำ/ลม/มาตราน้ำ ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๔-๖ เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ทะเลเรียบ ลมสงบ ใกล้เคียงกับตำบลที่เกาะสีชัง
๓.ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข ๑๕๖ (อศ.) ตำบลที่ ท่าเรือแหลมฉบัง สถานที่ตั้ง อ.ศรีราชา จว.ชลบุรี ๒๐๒๓๐ ทุ่นไฟปากร่อง ด้านเหนือ แลต ๑๓ องศา ๔ ลิปดา ๔๐ ฟิลิปดา น. ลอง ๑๐๐ องศา ๕๑ ลิปดา ๕๐ ฟิลิปดา อ. ด้านใต้ ไม่มีเนื่องจากเป็นร่องน้ำขุดใหม่
ที่จอดเรือรับ กบ. ท่า A ที่จอดเรือ บก.ตำรวจน้ำ ท่าB ท่า C
ลักษณะท่าเรือแหลมฉบัง ตั้งอยู่ภาคตะวันออกของประเทศไทยในจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่รับอิทธิจากลมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นท่าเทียบเรือเอกชน น้ำลึกประมาณ ๑๖ เมตร มีจำนวนทั้งหมด ๓ ท่าเทียบเรือ จากทิศเหนือไปใต้ตามลำดับคือ ๑.ท่าเรือ A มีอู่ลอยสามารถใช้ในการซ่อมทำและเป็นท่าเรือได้ดี ๒.ท่าเรือ B เป็นท่าเรือพาณิชย์มีเครนขนาดใหญ่ใช้สำหรับขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์ ส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมอาทิเช่น ขนถ่ายน้ำตาล ๓.ท่าเรือ C เป็นท่าเรือพาณิชย์สามารถใช้จอดเรือของทางราชการได้ซึ่งจะมีที่ทำการของตำรวจน้ำอยู่ในบริเวณใกล้
ท่า A ท่า B ท่า C เขื่อนกันคลื่น ตั้งอยู่ภาคตะวันออกของประเทศไทยในจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่รับอิทธิจากลมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นท่าเทียบเรือเอกชน น้ำลึกประมาณ ๑๖ เมตร มีจำนวนทั้งหมด ๓ ท่าเทียบเรือ จากทิศเหนือไปใต้ตามลำดับคือ ๑.ท่าเรือ A มีอู่ลอยสามารถใช้ในการซ่อมทำและเป็นท่าเรือได้ดี ๒.ท่าเรือ B เป็นท่าเรือพาณิชย์มีเครนขนาดใหญ่ใช้สำหรับขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์ ส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมอาทิเช่น ขนถ่ายน้ำตาล ๓.ท่าเรือ C เป็นท่าเรือพาณิชย์สามารถใช้จอดเรือของทางราชการได้ซึ่งจะมีที่ทำการของตำรวจน้ำอยู่ในบริเวณใกล้
c-135 c-342 ท่า A ที่จอดเรือรับ กบ. ที่จอดเรือ ท่าB ท่า C ทุ่นไฟปากร่อง ท่า A ที่จอดเรือรับ กบ. c-135 ที่จอดเรือ มีทางเข้าร่องน้ำอยู่สองทางคือ ทางเข้าร่องทางด้านทิศเหนือ มีทุ่นไฟปากร่องอยู่ที่ แลต ๑๓ องศา ๔ ลิปดา ๔๐ ฟิลิปดา ลอง ๑๐๐ องศา ๕๑ ลิปดา ๕๐ ฟิลิปดา เข็มเข้า ๑๓๕ ระดับความลึกน้ำ ๑๒ – ๑๕ เมตร ความกว้างปากร่อง ๕๐๐ หลา ทางเข้าร่องทางด้านทิศใต้ ไม่มีทุ่นไฟปากร่อง เป็นร่องน้ำขุดใหม่ ปากทางเข้าอยู่ที่ แลต ๑๓ องศา ๑ ลิปดา ๓๖ ฟิลิปดา ลอง ๑๐๐ องศา ๕๓ ลิปดา ๑๘ ฟิลิปดา เข็มเข้า ๓๔๒ ระดับความลึกน้ำ ๑๒ – ๑๗ เมตร ความกว้างปากร่อง ๖๕๐ หลา โดยจะมีเบรคกันคลื่นกั้น ยาวประมาณ ๑.๘ ไมล์ที่หมายเวลากลางคืน มี ทุ่นไฟปากร่อง ๑ ทุ่น มีไฟกำกับร่องน้ำที่ปลายเขื่อนและบนบก รวม ๑ คู่ (ไฟสีแดงทางฝั่งซ้าย และ ไฟสีเขียวทางกราบขวา ในทิศทางขาเข้าสู่ร่องน้ำ) ท่าB ท่า C c-342
ร่องน้ำด้านทิศเหนือ เข็มเข้า ๑๓๕
ถ้าเข้าร่องน้ำเหนือจะผ่าน ท่าA และ ท่า B ก่อน
ช่องทางเข้า ท่า C
ด้านกราบซ้ายขณะเลี้ยวเข้าท่า C
ร่องน้ำด้านทิศใต้ เข็มเข้า ๓๔๒ ทุ่นจตุรทิศตะวันออก
ขณะเลี้ยวเข้า ท่าC ทางร่องน้ำด้านใต้
ที่ทำการของตำรวจน้ำ
การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ ท่าเรือ C สามารถจอดเรือได้สองลักษณะคือ จอดตามยาวของท่าเรือเช่นเดียวกับการจอดของเรือตำรวจน้ำ และศุลกากร จะลดอาการโคลงของคลื่นได้ดี แต่หากจอดเทียบเรือด้านในสามารถรับ กบ. ได้ แต่คลื่นจะกระแทกตัวเรือเข้ากับท่าตลอดเวลาที่มีคลื่นลมแรง และต้องคอยระมัดระวังการเข้าเทียบของเรือต่างๆอีกด้วย
บริเวณที่เทียบเรือที่สามารถรับ กบ.ได้ บริเวณที่เทียบเรือของทางราชการ ลักษณะท่าเรือ เป็นท่าเรือพาณิชย์ มีเรือสินค้าขนาดใหญ่เข้า – ออก เป็นประจำ แต่ตรงบริเวณที่เทียบเรือรับสถานการณ์ เป็นบริเวณเดียวกับที่เรือลากจูงของการท่าเรือฯ จอดอยู่ ซึ่งเป็นพื้นที่คนละส่วนกับที่สำหรับเทียบเรือสินค้า (โดยเรียกว่าส่วน C3) พื้นท้องทะเล ทรายปนโคลน บริเวณภายในท่า C
บริเวณที่เทียบเรือของทางราชการ
ยางกันกระแทกได้มาตรฐาน
ข้อควรระมัดระวัง การนำเรือเข้าเทียบบริเวณท่าฯเข้าได้ทางด้านทิศเหนือและทิศใต้ ซึ่งเรือสินค้าจะต้องเข้าทางด้านทิศเหนือเพราะร่องน้ำจะลึก ขณะที่ทางด้านใต้ร่องน้ำจะตื้นกว่า โดยทางด้านใต้ จะมีความลึกน้ำ ๔ – ๖ เมตร และเรือชุด PGM สามารถเข้า – ออก ทางด้านทิศใต้ได้
วิทยุ - Marine Band CH.13, CH.16 การท่าเรือฯ จะใช้ ๔.การติดต่อ วิทยุ - Marine Band CH.13, CH.16 การท่าเรือฯ จะใช้ นามเรียกขาน “แหลมฉบัง” โทรศัพท์ - ประสานขอใช้ท่ากับ ผอ.กองบริการ (ร.อ.สุทธินันท์ หัตถวงษ์) โทร. ๐๓๘ – ๔๐๙๐๔๘, ๔๐๙๒๑๒ ไฟฟ้า - หน.แผนกบริการท่า โทร. ๐๓๘ – ๔๐๙๒๑๐ น้ำจืด - หน.แผนกบริการท่า โทร. ๐๓๘ – ๔๐๙๒๑๐
๕. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำ - ต่อสายยางขนาดเล็กจากสถานีตำรวจน้ำ ไฟฟ้า - ไฟฟ้า ๒๒๐ โวลท์ (เฉพาะไฟฟ้าแสงสว่าง) โทรศัพท์ - ไม่มี
บริเวณที่เทียบเรือที่สามารถรับ กบ.ได้