การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
Advertisements

บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 4 สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ สมการทางบัญชี
Statement of Cash Flows
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
การบันทึกบัญชีงานระหว่างก่อสร้าง
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
ลักษณะของระบบบัญชี.
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท
FM FM
หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
LOGO. ปัญหาการ วิจัย ผู้วิจัยจึงตั้งปัญหาใน การวิจัยครั้งนี้ว่า.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
Creative Accounting
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี บทที่ 2

วัตถุประสงค์ในการศึกษา ทราบถึงลักษณะของรายการค้า และรายการที่ไม่ใช่รายการค้า อธิบายสมการบัญชีได้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรายการค้าที่มีผลต่อสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของได้ บันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่ได้ นำผลจากการวิเคราะห์รายการค้ามาบันทึกรายการใน สมุดบัญชีได้อย่างถูกต้อง

รายการค้า (Business Transaction) คือ รายการหรือเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเงิน หรือสิ่งที่มีมูลค่าเป็นเงินระหว่างกิจการกับบุคคลอื่น

ตัวอย่างรายการค้า การลงทุนด้วยเงินสด หรือสินทรัพย์อื่น การซื้อสินทรัพย์ด้วยเงินสดหรือเงินเชื่อ การซื้อสินค้าเพื่อนำมาไว้ขายด้วยเงินสด การซื้อสินค้าเพื่อนำมาไว้ขายด้วยเงินเชื่อ การจ่ายค่าใช้จ่ายของกิจการด้วยเงินสด การที่กิจการได้รับบริการจากกิจการอื่นแล้วแต่ยังไม่ได้ชำระเงิน

ตัวอย่างรายการค้า (ต่อ) กิจการขายสินค้าเป็นเงินสด กิจการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ กิจการให้บริการเป็นเงินสด กิจการให้บริการเป็นเงินเชื่อ เจ้าของกิจการนำสินทรัพย์ของกิจการไปใช้ส่วนตัว กิจการกู้เงินจากสถาบันการเงินหรือจากบุคคลภายนอก กิจการจ่ายชำระหนี้ กิจการรับชำระหนี้

รายการที่ไม่ใช่รายการค้า (Non-Business Transaction) รายการหรือเหตุการณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเงินหรือสิ่งที่มีค่าเป็นเงินของกิจการ เจ้าของกิจการทำความสะอาดร้าน เจ้าของกิจการจัดตกแต่งร้านให้สวยงาม

สมการบัญชี (Accounting Equation) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสินทรัพย์ หนิ้สิน และส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ

การวิเคราะห์รายการค้า ( Business Transaction Analysis) การนำรายการค้าที่เกิดขึ้น มาวิเคราะห์ว่ามีผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของหรือไม่ อย่างไร เช่น รายการค้า สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ 1. นำเงินสดมาลงทุน เพิ่มขึ้น ไม่เปลี่ยนแปลง 2. ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ(เครดิต) 3. ขายสินค้าเงินสด

ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการค้า 1. นายอัคนี นำเงินสดมาลงทุนสร้างฟาร์มวัวนม จำนวน 100 บาท สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง 100 2. นายอัคนี ซื้อแม่วัวนม 2 ตัว ตัวละ 20 บาทเป็นเงินเชื่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง 40

ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการค้า 3. นายอัคนี จ่ายเงินสดชำระค่าแม่วัว 1 ตัว สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง 20 ผลสรุปรายการค้า สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง 140 20 40 100 120

ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการค้า 1. นายอัคนี นำเงินสดมาลงทุนสร้างฟาร์มวัวนม จำนวน 100 บาท สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง เงินสด ทุน 2. นายอัคนี ซื้อแม่วัวนม 2 ตัว ตัวละ 20 บาทเป็นเงินเชื่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง แม่วัว เจ้าหนี้

ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการค้า 3. นายอัคนี จ่ายเงินสดชำระค่าแม่วัว 1 ตัว สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง เงินสด เจ้าหนี้ ผลสรุปรายการค้า สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ เพิ่มขึ้น ลดลง เงินสด/แม่วัว เงินสด เจ้าหนี้ ทุน

หลักการบันทึกบัญชีคู่ เดบิต (Debit) แสดงความสัมพันธ์ของการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ การลดลงของหนี้สิน และการลดลงของส่วนของเจ้าของ เครดิต (Credit) แสดงความสัมพันธ์ของการลดลงของสินทรัพย์ การเพิ่มขึ้นของหนี้สิน และการเพิ่มขึ้นของส่วนของเจ้าของ

หลักการบันทึกบัญชีคู่ เดบิต (Dr) สินทรัพย์เพิ่ม หนี้สินลด ส่วนของเจ้าของลด เครดิต (Cr) สินทรัพย์ลด หนี้สินเพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม

ตัวอย่างแบบฝึกหัด 2-1 Question ??