ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สมดุลเคมี.
สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
ความเป็นเบสของ Amines(Basicity of Amines)
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารกัดกร่อน.
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
แบบฝึกหัด.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
Part4 : Alcohols and Reaction of Alcohols
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
บทที่ 2 Alkanes & Cycloalkanes
บทที่ 7 Aldehydes and Ketones
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
THE OIL BUSINESS PROCESS
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
ความหมายของสิทธิบัตร
สารประกอบ.
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
ยางพอลิไอโซพรีน.
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
นายปรีชานันท์ อุปละ ม.4/5 เลขที่ 11
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อสารอินทรีย์
พอลิเมอร์ (Polymer) โรงเรียนโกวิทธำรงเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร บทที่ 15 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

เคมีอินทรีย์ เป็นเคมีสาขาหนึ่งซึ่งศึกษาสารประกอบของคาร์บอน (C) ซึ่งคาร์บอนสามารถเกิดเป็นสารประกอบอินทรีย์ได้มากมายหลายชนิด คาร์บอนมี valence electron 4 ตัว ที่สามารถเกิดเป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่และ พันธะสาม โดยในปัจจุบันเรารู้จักสารประกอบอินทรีย์ทั้งที่สังเคราะห์ขึ้นมา และที่ธรรมชาติสร้างขึ้นกว่า 8 ล้านชนิด

6C : 1s2 2s2 2p2 C มี valence = 4 จะมี 4 พันธะ C

Alkanes (Cn H 2n + 2) เมื่อ n = 1, 2, 3, ... : มีเฉพาะพันธะเดี่ยว : C 1 - C 4 เป็น gas คาร์บอนสูงกว่านี้เป็นของเหลวและของแข็ง ชื่อ ไฮโดรคาร์บอน จำนวนคาร์บอน สูตรโมเลกุล m.p. (oC) b.p. (oC) methane ethane propane butane pentane hexane heptane octane 1 2 3 4 5 6 7 8 CH4 CH3 - CH3 CH3 - CH2 - CH3 CH3 - ( CH2 )2 - CH3 CH3 - ( CH2 )3 - CH3 CH3 - ( CH2 )4 - CH3 CH3 - ( CH2 )5 - CH3 CH3 - ( CH2 )6 - CH3 - 182.5 - 183.3 - 189.7 - 138.3 - 129.8 - 95.3 - 90.6 - 56.8 - 161.6 - 88.6 -42.1 -0.5 36.1 68.7 98.4 125.7

หมู่แอลคิล (Alkyl group) เป็นหมู่แทนที่ มาจาก H ใน alkane ขาดไป 1 อะตอม CH4 เมื่อ H ขาดไป 1 อะตอมกลายเป็น CH3- : methyl CH3-CH3 เมื่อ H ขาดไป 1 อะตอมกลายเป็น CH3-CH2- : ethyl CH3-CH2-CH3 เมื่อ H ขาดไป 1 อะตอมกลายเป็น CH3-CH2-CH2- : n-propyl Cycloalkanes (Cn H2n) คือ alkane ที่มีลักษณะเป็นวง (ring) - C4 ขึ้นไปจะมี isomer - cyclohexane (C6) จะมี 2 isomer คือ 1. chair form 2. boat form

Alkenes (Cn H2n) เมื่อ n = 2, 3, 4, ... โมเลกุลมีพันธะคู่ (double bond) ระหว่าง C กับ C อย่างน้อย 1 พันธะ - CH2 = CH2 (Ethene หรือ Ethylene) มีความสำคัญในอุตสาหกรรมพลาสติก - CH3CH = CHCH3 เรียก 2–butene มี 2 isomers cis - 2 - butene trans - 2 - butene

Alkynes (Cn H2n - 2 ) เมื่อ n = 2, 3, 4, ... โมเลกุลมีพันธะสาม (triple bond) ระหว่าง C กับ C อย่างน้อย 1 พันธะ Acetylene หรือ Ethyne ใช้เตรียม vinyl chloride หรือ เป็นเชื้อเพลิงในการตัดโลหะ + HCl  CH2=CH-Cl PVC (vinyl chloride)

Aromatic Hydrocarbon มี benzene ring

phenanthrene

Alcohol (R - OH) : มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) อยู่ในโมเลกุล CH3 - OH : methanol, methyl alcohol, wood alcohol : ได้จากการผลิตในอุตสาหกรรมเป็นหลัก (CO + 2H2CH3OH) : พิษร่างกาย ทำให้ตาบอด ดื่มเข้าไปอาจทำให้เสียชีวิต CH3CH2-OH : ethanol หรือ ethyl alcohol : ใช้ผสมในเครื่องดื่มมึนเมา ได้จากการหมักน้ำตาล C6H12O6 + yeast  C2H5OH + 2CO2 : Ethanol สามารถเตรียมได้จากอุตสาหกรรมจาก ethylene (CH2=CH2) C2H5OH CH2 = CH2 + H2O : Denatured alcohol คือ ethyl alcohol ที่มี CH3OH หรือ สารอื่นเจือปน

: alcohol ที่มีหมู่ -OH มากกว่า 1 หมู่ เช่น Ethylene glycol ใช้เป็น antifreeze เติมหม้อน้ำรถ glycerol หรือ glycerine เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างไขมันกับ NaOH ในอุตสาหกรรมทำสบู่ ใช้เป็นส่วนประกอบในยา และสารให้ความชุ่มชื้น

: ประกอบด้วยพันธะ R–O–R เมื่อ R หรือ R เป็นหมู่แอลคิล หรือ เอริล CH3-CH2-O-CH2-CH3 diethyl ether - ยาสลบ ยาชา มีอาการข้างเคียง (side effect) - เป็นตัวทำละลาย (solvent) CH3-O-CH2CH3 methyl ethyl ether - ใช้เป็นยาสลบได้ดีกว่า ไม่เกิด side effect

Aldehyde : ต้องมี H อย่างน้อย 1 อะตอม ที่สร้างพันธะกับ C ในหมู่คาร์บอนิล formaldehyde ใช้ทำน้ำยา formalin สำหรับ, polymer เช่น Phenol-formaldehyde resin, Melamine และ Urea-Formaldehyde เป็นต้น acetaldehyde ผลิตภัณฑ์จากการ oxidize ethanol เมื่อดื่มเหล้าตับจะเปลี่ยน Ethanol เป็นสารนี้ ซึ่งเป็นพิษต่อเซลล์ในตับ หากดื่มติดต่อเป็นเวลานาน

: คาร์บอนตรงหมู่คาร์บอนิลเกาะกับคาร์บอนอื่นๆ Acetone ใช้เป็นตัวทำละลาย (solvent) ในอุตสาหกรรมต่างๆ

: มีหมู่คาร์บอกซิล (–COOH) อยู่ในโมเลกุล CH3-COOH เรียก Acetic acid หรือ กรดน้ำส้ม HCOOH เรียก Formic acid หรือ กรดมด

Ester - ได้จากปฏิกิริยาระหว่าง carboxylic acid + alcohol, มีกลิ่นเฉพาะตัว ethyl acetate ไขมันเป็นเอสเทอร์

: เป็นสารอินทรีย์ ที่มีสมบัติเป็นเบส : สูตรทั่วไป คือ R3N เมื่อ R อาจเป็น H, หมู่แอลคิล หรือ หมู่เอริล : มีกลิ่นเฉพาะตัว (ปกติกลิ่นเหมือนคาวปลา) CH3 - NH2 CH3CH2 - NH2 methyl amine ethyl amine

น้ำมันปิโตรเลียม (Petroleum) น้ำมันดิบ (crude oil) ซึ่งเกิดจากการทับถมของซากพืชและสัตว์ ภายใต้อุณหภูมิและความดันที่เหมาะสมเป็นเวลานานหลายล้านปี ประกอบด้วย สารประกอบไฮโดรคาร์บอน (C และ H) เป็นองค์ประกอบหลัก เช่น สารประกอบ alkanes, cycloalkanes และสารประกอบ aromatics เมื่อนำมาผ่านกระบวนการกลั่นลำดับส่วน (Fractional distillation) สามารถจำแนกสารประกอบตามจุดเดือด ดังตาราง

boiling point range (oC) เชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม fraction C-atom boiling point range (oC) การใช้งาน natural gas C1 – C4 -161 – 20 เชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม petroleum ether C5 – C6 30 – 60 ตัวทำละลาย Gasoline C6 – C12 30 – 180 เชื้อเพลิง Kerosene C11 – C16 170 – 290 Heating fuel oil C14 – C18 260 – 350 Lubricating oil C15 – C24 300 - 370 สารหล่อลื่น

C1-C4 จะเข้าสู่กระบวนการกลั่นแยกอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้ได้สารประกอบแต่ละตัวคือ CH4 ประโยชน์นำไปผลิต syn-gas (CO และ H2) และเป็นเชื้อเพลิง C2H6 ผ่านกระบวนการ Thermal cracking ได้ Ethene (H2C=CH2) เป็นวัตถุดิบผลิตPolyethylene (PE) C3H8 ผ่านกระบวนการ Thermal cracking ได้ propylene (CH3HC=CH2) ผลิตPolypropylene (PP) C4H10 ผ่านกระบวนการThermal cracking ได้ butadiene (CH2=CHCH=CH2) ผลิตยางสังเคราะห์ (SBR) ส่วนปิโตรเลียมอีเธอร์ (C5-C6) ก็จะเข้าสูกระบวนการ Thermal cracking และ Isomerization เพื่อให้ได้ C1-C4 และเข้าสู่กระบวนการแยกอีกครั้ง ส่วนกากที่เหลือจากกระบวนการสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้

Polymer : ประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ (monomer) ต่อกันเป็นโมเลกุลใหญ่ : อาจมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น ยาง แป้ง เซลลูโลส โปรตีน หรือสามารถสังเคราะห์ได้ ชนิดของ polymer 1. Additional Polymer การเติม monomer ไปที่ monomer อื่นเรื่อยๆ - Homopolymer คือ polymer ที่เกิดจาก monomer ชนิดเดียวกัน

- Copolymer คือ polymer ที่เกิดจาก monomer ต่างชนิดกัน เช่น styrene + butadiene  ยางสังเคราะห์ (styrene butadiene rubber : SBR)

2. Condensation polymer : เป็น polymer ที่เกิดจาก monomer ที่มี functional group มากกว่า 2 หมู่ Nylon 66

ชนิดของพลาสติก 1. Thermoplastic : เป็นพลาสติกที่สามารถหลอม ขึ้นรูป หรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ - นิยมใช้มากที่สุด - นำกลับมาหลอมใหม่ด้วยความร้อน และขึ้นรูปใหม่ได้ เช่น polyethylene (PE), polypropylene (PP), polystyrene (PS) 2. Thermosetting plastics : พลาสติกที่ขึ้นรูปพร้อมกับผ่านกระบวนการโพลิเมอไรซ์ ด้วยความร้อนในเวลาเดียวกัน - หลอมใหม่ไม่ได้ เปลี่ยนรูปไม่ได้ ทนสารเคมี เช่น melamine, epoxy, polyurethane

Natural polymer หรือ macromolecule ที่มีตามธรรมชาติได้แก่ 1. Carbohydrates มีหน่วยโครงสร้างพื้นฐาน คือ glucose 2. Proteins มีหน่วยโครงสร้างพื้นฐาน คือ amino acid 3. Rubber มีหน่วยโครงสร้างพื้นฐาน คือ isoprene