องค์ประกอบของโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ปฎิบัติการที่ ห้า.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ฟังก์ชันตรวจสอบเงื่อนไข
Introduction to C Programming.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
C Programming Lecture no. 6: Function.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
C language W.lilakiatsakun.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
โครงสร้าง ภาษาซี.
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบของโปรแกรม หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

องค์ประกอบของโปรแกรม สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

องค์ประกอบของโปรแกรม โครงสร้างของโปรแกรม การเขียนโปรแกรมภาษา C จะต้องเขียนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กเสมอ และเมื่อจบประโยคำสั่งแต่ละคำสั่ง จะใช้เครื่องหมายเซมิโคลอน (;) ในการคั่นคำสั่งแต่ละคำสั่ง หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

องค์ประกอบของโปรแกรม โครงสร้างของโปรแกรม หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ความหมาย โครงสร้างของโปรแกรม หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี แบ่งออกได้ 3 ส่วน ดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Head File) 2. ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) 3. ส่วนฟังก์ชันย่อย (Sub Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนหัวโปรแกรม (Head File) หรือ คอมไพเลอร์ไดเร็กทีฟ (Compiler Directive) เป็นส่วนหัวของโปรแกรมที่ใช้สำหรับเป็นตัวบอกคอมไพเลอร์ ว่าให้รวมไฟล์ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในส่วนนี้กับตัวโปรแกรมที่เขียนขึ้น หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนหัวโปรแกรม (Head File) #include<library> ให้อ่านไฟล์ stdio.h เข้ามาด้วย ให้อ่านไฟล์ conio.h เข้ามาด้วย หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) หรือโปรแกรมหลัก (Main Program) เป็นส่วนที่ผู้เขียนต้องเขียนขึ้นเอง โดยนำคำสั่งหรือฟังก์ชันมาตรฐานต่าง ๆ มาเรียบเรียงกันขึ้นเป็นโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) 1. ส่วนนำเข้าข้อมูล (Input) 2. ส่วนกำหนดค่า หรือ คำนวณ (Assignment or Computation) 3. ส่วนแสดงผลลัพธ์ (Output) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function) การหมายเหตุ (Comment) ใช้เพื่อต้องการอธิบายรายละเอียดของโปรแกรม หรือคำสั่ง สามารถเขียนได้ดังนี้ /*ข้อความ*/ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนฟังก์ชันย่อย (Sub Function) หรือโปรแกรมย่อย (Sub Program) เป็นส่วนที่ผู้เขียนต้องเขียนขึ้นเอง โดยนำคำสั่งหรือฟังก์ชันมาตรฐานต่าง ๆ มาเรียงกัน เพื่อให้โปรแกรมหลักหรือฟังก์ชัน สามารถประมวลผลโดยส่งผ่านค่าพารามิเตอร์ หรือไม่ผ่านค่าพารามิเตอร์ก็ได้ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี ส่วนฟังก์ชันย่อย (Sub Function) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

องค์ประกอบของโปรแกรม ตัวแปร (Variable) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ตัวอย่าง การประกาศตัวแปร (Variable) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

คำสงวน (reserved word) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

คำสงวน (reserved word) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล clrscr( ) printf( ) cprintf( ) scanf( ) getch( ) getchar( ) gets( ) textcolor( ) textbackground( ) gotoxy( ) หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน clrscr( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน printf( ); แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ค่าคงที่ และนิพจน์ ออกจอภาพ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน cprintf( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล รหัสรูปแบบ (format code) ที่ใช้ในการแสดงผล ต้องอยู่ ในตำแหน่งหลังเครื่องหมาย % หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน scanf( ); ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน getch( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน getchar( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน gets( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน textcolor( ); ใช้ในการกำหนดสีตัวอักษร โดยจะใช้ร่วมกับฟังก์ชัน cprintf ซึ่งมีสีต่าง ๆ ให้เลือกตัวเลขค่าสี อาจจะพิมพ์เป็นตัวเลข หรือชื่อสีเป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ก็ได้ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน textcolor( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน textcolor( ); หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

องค์ประกอบของโปรแกรม ตัวเลขค่าสีตัวอักษร หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน textbackground( ); ใช้กำหนดสีพื้นให้กับตัวอักษร หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

ฟังก์ชันในการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน gotoxy( ); ใช้ในการกำหนดตำแหน่งที่จะแสดงข้อความ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

องค์ประกอบของโปรแกรม ชนิดของข้อมูล หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

รหัสควบคุม (Control code) เริ่มต้นด้วยตัวอักษร back slash ( \ ) จากนั้นตามด้วยอักษรพิเศษ หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม

องค์ประกอบของโปรแกรม จบหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม