รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
กลุ่มคนในสังคมสุโขทัย
ผศ. วีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน์
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ หมายความว่า
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
กฎหมายเบื้องต้น.
รายงาน เรื่อง การปฏิวัติการค้าสมัยยุโรป เสนอ คุณครู อรวรรณ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาขอนแก่นเขต 25.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สัปดาห์ที่ 4.
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
YOUR SUBTITLE GOES HERE
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
การบริหารราชการแผ่นดิน
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
องค์ประกอบสังคมอยุธยา
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
รัฐเดี่ยวรัฐรวมแตกต่างกันอย่างไร
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

องค์ประกอบทางสังคมวิทยาของรัฐ ศาสตราจารย์ Andre Hauriou et Jean Gicquel ได้กล่าวว่า “ องค์ประกอบทางสังคมวิทยาของรัฐที่สำคัญและ จำเป็นมี 3 ประการ คือ องค์ประกอบทางด้านบุคคล ได้แก่ ประชากร หรือชาติ องค์ประกอบทางด้านเนื้อหา ได้แก่ ดินแดน องค์ประกอบทางด้านรูปแบบ ได้แก่ อำนาจทางการเมือง เฉพาะ หรืออำนาจอธิปไตย”

รูปแบบของรัฐ ศาสตราจารย์ไพโรจน์ ชัยนาม ได้กล่าวถึงรูปแบบของรัฐไว้ดังนี้ “ ในการศึกษาถึงรูปแบบของรัฐนั้น อาจพิจารณาได้ ในสองแง่ที่ต่างกัน กล่าวคือ พิจารณาในแง่ทางการเมือง พิจารณาในแง่กฎหมาย

รูปแบบของรัฐ ในที่นี้จะขออนุญาตอธิบายเฉพาะการจัดแบบกฎหมายเท่านั้น ซึ่งแบ่งเป็นรัฐเดี่ยวและรัฐรวม รัฐเดี่ยว คือ รัฐที่มีศูนย์กลางทางการเมืองและการปกครอง แห่งเดียวกัน เป็นรัฐที่มีผู้ใช้อำนาจอธิปไตยทั้งภายในและ ภายนอกประเทศเป็นศูนย์เดียวกัน คือรัฐที่มีสภาพเป็น นิติ บุคคล บุคคลทุกคนในประเทศจะอยู่ใต้บังคับบัญชาของ อำนาจแห่งเดียวกันนี้ ทุกคนจะอยู่ในระบอบการปกครอง เดียวกัน จะอยู่ใต้บทบัญญัติของกฎหมายอย่างเดียวกัน

สำหรับรูปแบบการปกครองในรัฐเดี่ยวมี 2 ระบบที่สำคัญคือ การปกครองแบบรวมอำนาจ (Centralisation) การปกครองแบบกระจายอำนาจ (Decentralisation)

รัฐรวม รัฐรวมแบบใหม่อาจจำแนกได้ 2 ประเภท คือ สมาพันธรัฐ (La Confederation d’Etats) สหพันธรัฐ (L’Etat federal)

รูปแบบการปกครองของประเทศไทย รูปแบบการปกครองของประเทศไทย “ รัฐ” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ. ศ. 2521 ตามบทบัญญัติ มาตรา 1 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. 2540 ความว่า “ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยก มิได้” นั้นได้แสดงถึงลักษณะความเป็น “ รัฐเดี่ยว” ของ ประเทศไทย กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยมีรูปแบบของ “ รัฐ เดี่ยว” มิใช่ “ รัฐรวม” แต่ประการใด

ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

พระมหากษัตริย์ของไทยจึงทรงมีฐานะในทางการเมืองการปกครองของไทย ดังนี้ 1) ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศเท่านั้น มิใช่ในฐานะผู้บริหารเหมือนในสมัยราชาธิปไตยอีกต่อไป โดยจะทรงใช้อำ นาจอธิปไตยโดยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาลตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้เท่านั้น ทั้งนี้ในการใช้พระราชอำนาจดังกล่าว จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการหรือรับผิดแทนเสมอ

2) ทรงเป็นกลางและทรงอยู่เหนือการเมืองตลอดเวลา หมายความว่าจะไม่ทรงสนับสนุนนักการเมืองคนใด หรือพรรคการเมืองใดที่รณรงค์แข่งขันในการเลือกตั้ง เพื่อให้ได้อำ นาจการเมืองการปกครอง แต่พระองค์จะทรงมีอำ นาจในการแนะนำ ตักเตือน และให้กำ ลังใจนักการเมืองและประชาชนทั้งปวง ให้ทำหน้าที่อย่างผู้ซื่อสัตย์สุจริตเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน

3) ทรงดำ รงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดและกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศานู- ปถัมภก และทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนา ฐานันดรศักดิ์ และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

ฐานะของพระมหากษัตริย์ในสมัยปัจจุบัน 1) ทรงเป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการติดต่อกับประมุขของต่างประเทศโดยจะทรงแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำ ณ ประเทศต่าง ๆ 2) ทรงเป็นเอกลักษณ์และศูนย์รวมแห่งความสามัคคีของประชาชนทั้งประเทศ