พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Advertisements

บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
การกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยเพื่อให้สอดรับกับ พรบ
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System หรือ MIS )
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
พรบ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การดำเนินคดีสุราขาวปลอม
๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น. ๑๓. ๔๐ – ๑๖. ๐๐ น. ๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น.
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ. ศ.2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ดังต่อไปนี้ มาตราที่
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ รวบรวมโดย พล.ต.ต.เดชาวัต รามสมภพ รอง ผบช.ภ.3.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
ยอดเงินงบประมาณที่สามารถโอน จำนวน 6,118,000 บาท ลำ ดับ ประเภท - รายการ จำน วน ราคาต่อหน่วย ( บาท ) ราคารวม ( บาท ) 1Log Management11,300,000 2 อุปกรณ์
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปสาระสำคัญ 1. ผู้ที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าซึ่งมีกำลังผลิตรวมตั้งแต่ 200กิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไป อยู่ในครอบครอง เพื่อทำการผลิตไฟฟ้า จะต้อง ขออนุญาต ทำการผลิตพลังงานควบคุม.
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ รายชื่อสมาชิก นายธีรศาสตร์ ธาราไทย นางรวิชา ยืนยง
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง
นายอดิเทพ รอดพุก ชื่อเล่น นิว อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
เล่มที่ 134 ตอนที่ 27 ก 18 มิถุนายน 2550
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ สำหรับ ผู้บริหาร พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน.
มิติทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ. รมน
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
LOGO ลักษณะ และการใช้งาน เครื่องชั่งที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการเอารัดเอา เปรียบ โดย นายสุรชัย สังข์ศรีแก้ว หัวหน้าศูนย์ชั่งตวงวัดภาคเหนือ ( เชียงใหม่ )
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
4/7/2017 9:01 AM การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ อ.วีระชัย บุญปก : © 2005 Microsoft.
- ระบบแสดงตัวตนผู้ใช้งาน อินเตอร์เน็ต จัดทำขึ้น เพื่อรองรับ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดคอมพิวเตอร์ พ. ศ เพื่อใช้อ้างอิงการเข้าใช้งาน.
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
การเตรียมความพร้อมจากผลการบังคับใช้ (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ
มิติทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
ธีรพล สยามพันธ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.พัทลุง เขต 1
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กฎหมายว่าด้วยความผิดทางคอมพิวเตอร์(แบบสรุป)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สําหรับตน.
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
ข้อพิจารณา ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ จัดทำโดย นายสุวิทย์ ศิริ รหัสนักศึกษา 54100279 คณะวิทยาลัยการบริหารและจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้แล้ว วันพุธที่ 18 กรกฎาคม 2550

เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อกำหนด เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อกำหนด ฐานความผิด และบทลงโทษ อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ หน้าที่ของผู้ให้บริการ

โครงสร้างของพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ประกอบด้วยมาตราต่างๆรวมทั้งสิ้น 30 มาตรา แบ่งได้ 3 ส่วน คือ ส่วนทั่วไป มาตราที่ 4 ผู้รักษาการ มาตราที่ 3 คำนิยาม มาตราที่ 2 วันบังคับใช้กฎหมาย มาตราที่ 1 ชื่อกฎหมาย

2 . หมวด 1 บทบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มีทั้งสิ้น 13 มาตรา ดังนี้ มาตราที่ 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ 6 การลวงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง และนำเปิดเผยโดยมิชอบ มาตราที่ 7 การเข้าถึงข้อมูลโดยมิชอบ มาตราที่ 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ 9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ

หมวด 1 มาตราที่ 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ 11 การสแปมเมล์ มาตราที่ 12 การกระทำความผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความมั่งคงของประเทศ มาตราที่ 13 การจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด มาตราที่ 14 การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม มาตราที่ 15 การรับผิดของผู้ให้บริการ มาตราที่ 16 การเผยแพร่ภาพจาการตัดต่อหรือดัดแปลงให้ผู้อื่นถูกดูหมิ่นหรืออับอาย มาตราที่ 17 การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรซึ่งต้องรับโทษราชอาณาจักร

หมวด 2 เป็นการกำหนดเกี่ยวกับอำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ และกำหนดให้ผู้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์และต้องให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการ ส่งมอบข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ บทบัญญัติในหมวดนี้มีทั้งหมด 13 มาตรา ดังนี้ มาตราที่ 18 อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตราที่ 19 การตรวจสอบการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตราที่ 20 การใช้อำนาจในการบล็อก (Block) เว็บไซต์ที่มีเนื้อหากระทบความมั่นคงหรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อย มาตราที่ 21 การห้ามเผยแพร่หรือจำหน่ายชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ มาตราที่ 22 ห้ามไม่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลที่ได้ตามมาตรา 18 มาตราที่ 23 พนักงานเจ้าหน้าที่ประมาทจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นรู้ข้อมูล มาตราที่ 24 ความรับผิดของผู้ล่วงรู้ข้อมูลของผู้ให้บริการที่พนักงาน เจ้าหน้าที่ที่ได้มาตามมาตรา 18 ละนำไปเผยแพร่

หมวด 2 มาตราที่ 25 ห้ามมิให้พยานรับฟังหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ มาตราที่ 25 ห้ามมิให้พยานรับฟังหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ มาตราที่ 26-27 หน้าที่ของผู้ให้บริการในการเก็บข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์และความรับผิด หากไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ มาตราที่ 28 การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตราที่ 29 การรับร้องทุกข์กล่าวโทษ จับ ควบคุม ค้น และกำหนดระเบียบ แนวทางปฏิบัติ มาตราที่ 30 การปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่

สาระสำคัญของพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ .ฐานความผิด สาระสำคัญของพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ .ฐานความผิด การรักษาความลับ (Confidentiality) ความครบถ้วนและถูกต้อง(Integrity) ความพร้อมใช้งาน (Availability)

ความผิดในหมวด 1 เป็นความผิดที่ไม่สามารถยอมความได้ เนื่องจากผลของการกระทำความผิด หรือก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นนั้น อาจไม่เพียงกระทบต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น แต่อาจจะกระทบต่อสังคม หรือก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในวงกว้าง รวมทั้งหาตัวผู้กระทำผิดได้ยก ยกเว้นมาตร 16 ซึ่งเป็นความผิดที่กระทบเพียงบุคคลเดียว คู่คดีสามารถไกล่เกลี่ยกันได้

ฐานความผิดตามมาตราต่างๆในหมวด 1 มีดังนี้ มาตรา 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมสปายแวร์ (Spyware) ขโมยข้อมูลรหัสผ่านส่วนบุคคลของผู้อื่น เพื่อใช้บุกรุกเข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์ของงผู้นั้นผ่านช่องโหว่ของระบบดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต

มาตรา 6 การล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง และนำไปเปิดเผยโดยมิชอบ การล่วงรู้มาตรการความปลอดภัยการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรม Keystroke แอบบันทึกการกดรหัสผ่านของผู้อื่น แล้วนำไปโพสไว้ในเว็บบอร์ดต่างๆ เพื่อให้บุคคลที่สามใช้เป็นรหัสผ่านเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้เป็นเหยื่อ มาตรา 7 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ เช่น การกระทำใดๆตามที่กล่าวไว้ข้างต้นเพื่อเข้าถึงแฟ้มข้อมูล (File) ที่เป็นความลับโดยไม่ได้รับอนุญาต มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ คือ การดักรับข้อมูลของผู้อื่นในระหว่างการส่ง เช่น การใช้สนิฟเฟอร์ (Sniffer) แอบดักแพ็กเก็ต(Packet) ซึ่งเป็นชุดข้อมูลที่เล็กที่สุดที่อยู่ระหว่างการ ส่งไปให้ผู้รับ

มาตรา 9 และ 10 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตรา 9 และ 10 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การรบกวนข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมไวรัสเพื่อส่งอีเมล์(E-mail) จำนวนมหาศาลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้อื่น เพื่อทำให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ

มาตรา 11 การสแปมเมล์ เป็นมาตราที่เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อให้ครอบคลุมถึงการส่งสแปม ซึ่งเป็นลักษณะการกระทำความผิดที่ ใกล้เคียงกับมาตรา 10 และยังเป็นวิธีกระทำความผิดโดยการใช้โปรแกรมหรือชุดคำสั่งส่งไปให้ เหยื่อจำนวนมาก โดยปกปิดแหล่งที่มา เช่น IP Address ส่งผลกระทบ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบคอมพิวเตอร์ของเหยื่อได้ มาตรา 12 การกระทำความผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของ ประเทศ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชน หรือกระทบต่อความมั่นคง ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ และการบริการสาธารณะ ส่วน ใหญ่จะเป็นการเจาะเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์และแอบเพิ่มเติม หรือทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณูปโภคหรือระบบ การเงินของระเทศ ซึ่งเป็นที่มาของการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)

มาตรา 13 การจำหน่ายหรือเผยแพราชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด การเผยแพร่ชุดคำสั่งชั่วร้ายที่ใช้ในการกระทำความผิดตามมาตราต่างๆ ก่อนหน้าที่ มาตรา 14 และ 15 การปลอมแปลงคอมพิวเตอร์หรือเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม และการ รับผิดของผู้ให้บริการ สองมาตรานี้เป็นลักษณะที่เกิดจากการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นเท็จ หรือมีเนื้อหาไม่ เหมาะสมในรูปแบบต่างๆ โดยในมาตรา 14 ได้กำหนดให้ครอบคลุมถึงการปลอมแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือสร้างข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นเท็จ หรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น รวมทั้งข้อมูลลามกอนาจาร และการฟอร์เวิร์ด(Forward)หรือส่งต่อข้อมูลดังกล่าวอีกด้วยใน มาตรา 15 ได้มีการกำหนดโทษของผู้ให้บริการที่สนับสนุน หรือยินยอมให้มีการกระทำความผิด ตามมาตรา 14 ต้องรับโทษด้วยหากไม่ได้ระงับการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว

มาตรา 16 การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ หรือดัดแปลงให้ผู้อื่นถูกดูหมิ่น หรืออับอาย เป็นการกำหนดฐานความผิดในเรื่องของการตัดต่อภาพของบุคคลอื่นที่อาจจะทำให้ผู้เสียหายเสียชื่อเสียง ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย โดยความผิดในมาตรานี้เป็นความผิดที่มีความใกล้เคียงกับความผิดฐานหมิ่นประมาทในประมวลกฎหมายอาญา แต่มีการแพร่กระจายความเสียหายลักษณะดังกล่าวทางคอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตนั้นเป็นไปอย่างรวดเร็วและขยายวงกว้างมากกว่า

มาตรา 17 การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรซึ่งต้องรับโทษในราชอาณาจักร เป็นการนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ เนื่องจากมีความกังวลว่า หากมีความกระทำความผิด นอกประเทศแต่ความเสียหายเกิดขึ้นภายในประเทศแล้วจะนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษได้ อย่างไร จึงต้องกำหนดไว้ให้ชัดเจนในพระราชบัญญัติฯฉบับนี้ด้วย

ฐานความผิดและบทลงโทษ โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา 5 เข้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 10000 บาท มาตรา 6 ล่วงรู้มาตรการป้องกัน ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20000 บาท มาตรา 7 เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 40000 บาท มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60000 บาท มาตรา 9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100000 บาท

ฐานความผิดและบทลงโทษ โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100000 บาท มาตรา 11 สแปมเมล์ ไม่มี มาตรา12 การกระทำต่อความมั่นคงก่อให้เกิดความเสียหาย ไม่เกิน 10 ปี/3-15ปี/10-20ปี ไม่เกิน2แสนบาท/60000-300000 มาตรา 13 การจำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง ไม่เกิน 1ปี ไม่เกิน20000 บาท มาตรา 14 การเผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม มาตรา 15 ความรับผิดของ ISP มาตรา 16 การตัดต่อภาพผู้อื่น ถ้าสุจริต ไม่มีความผิด ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60000 บาท

ข้อมูลอ้างอิงจาก http://jackzone. igetweb. com/index. php ข้อมูลอ้างอิงจาก   http://jackzone.igetweb.com/index.php?lite=article&qid=475309 http://www.mict.go.th/ewt_news.php?nid=333&filename=index