ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร 4641 email: jessada@g.sut.ac.th http://math.sut.ac.th/~jessada.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
BC320 Introduction to Computer Programming
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Data Structures and Algorithms
Data Structures and Algorithms
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่านั่นคือ ถ้า f เป็นความสัมพันธ์ หรือเราสามารถเขียนฟังก์ชัน f ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ.
คณิตศาสตร์ธุรกิจ วันอังคาร 9:00-12:00 น. กลุ่ม 1 ห้อง B1138
จงหาค่าของ จงหาค่าของ.
Repetitive Instruction
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การแจกแจงปกติ.
กิจกรรมที่ 6 จุดประสงค์ การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ระบบเลขฐาน V.2 ม.6.
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction TO Discrete mathematics
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การกระทำทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร 4641 email: jessada@g.sut.ac.th http://math.sut.ac.th/~jessada

เนื้อหาก่อนสอบกลางภาค - ทบทวนพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ระบบจำนวน ค.ร.น ห.ร.ม เลขฐาน - เซต เซตย่อย สมาชิกในเซต จำนวนสมาชิกในเซต และการดำเนินการบนเซต - ลักษณะของจำนวนจริง จำนวนซึ่งเกี่ยวข้องกับจำนวนจริงที่น่าสนใจ สมการตัวแปรเดียว การแก้สมการตัวแปรเดียว ช่วง อสมการ ค่าสัมบูรณ์ - ระบบสมการ และการแก้ระบบสมการ - เมทริกซ์ การดำเนินการบนเมทริกซ์ ตัวกำหนด และเมทริกซ์ผกผัน - พหุนาม สมการพหุนาม และการหาผลเฉลยของสมการ - ปัญหาที่เกี่ยวกับกราฟ พื้นที่ และปริมาตร

เอกสารประกอบการสอน http://math.sut.ac.th/~jessada สมัย เหล่าวานิชย์ และ พัวพรรณ เหล่าวานิชย์, คู่มือคณิตศาสตร์ ม.1-6, บริษัท ไฮเอ็ดพับบลิชชิ่ง จำกัด, 2535 A. Chiang and K. Wainwright, Fundamental Methods of Mathematical Economics, 4th ed., McGraw Hill, Singapore, 2005 H. Anton, I. Bivens and S. Davis, Calculus, 7th ed., John Willey & Sons, Inc., USA., 2002 K. H. Rosen, Discrete Mathematics and Its Applications, 2nd ed., McGraw-Hill, Singapore, 1991 http://math.sut.ac.th/~jessada

(3-4)-5 = 3-(4-5) = 3-4-5 =

(3-4)5+2 = 3(4-5)-6 = (3-4)-2(5-6) = -10(3-4)-2(5-6) =

จงหาค่าของ จงหาค่าของ

จงทำให้ อยู่ในรูปอย่างง่าย จงทำให้ อยู่ในรูปอย่างง่าย

จงหาค่าของ จงหาค่าของ

จงเรียงลำดับค่าต่อไปนี้จากน้อยไปมาก

หารยาว

จงหาเศษที่เหลือจากการหาร 366 ด้วย 7 จงหาเศษที่เหลือจากการหาร 365 ด้วย 7

ทศนิยมตำแหน่งที่ 3 จากการหาร 5 ด้วย 7 มีค่า เท่ากับเท่าใด ทศนิยมตำแหน่งที่ 3 จากการหาร 4 ด้วย 7 มีค่า เท่ากับเท่าใด

จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษเกิน

จงหา ครน. และ หรม. ของ 33 และ 88 จงหา ครน. และ หรม. ของ 44 และ 99

GCD or Greatest Common Divisor ห.ร.ม. หรือ หารร่วมมาก GCD or Greatest Common Divisor ห.ร.ม ของจำนวนเต็ม a และ b ซึ่งไม่เป็นศูนย์ พร้อมกัน หมายถึง จำนวนเต็มบวกที่มากที่สุดที่หารทั้ง a และ b ลงตัว

จงหา ห.ร.ม. ของ 252 และ 198

จงทำให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ

LCM or Least Common Multiplier ค.ร.น. หรือ คูณร่วมน้อย LCM or Least Common Multiplier ค.ร.น. ของจำนวนเต็ม a และ b หมายถึง จำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่ทั้ง a และ b หารลงตัว

ทฤษฎีบท

ตัวอย่างการหา ค.ร.น 64 96

ตัวอย่างการใช้ ค.ร.น

ข้อความที่ให้ต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องจงแก้ไขให้ถูกต้อง 1.) 2.) 3.)

จงเรียงลำดับเลขต่อไปนี้จากน้อยไปมาก

ข้อความที่ให้ต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องจงแก้ไขให้ถูกต้อง 1.) 2.) 3.) 4.)

จงหาค่า เมื่อ จงหาค่า เมื่อ

จงหาค่า เมื่อ จงหาค่า เมื่อ

เลขฐาน เลขฐานเป็นรูปแบบของการนับตัวเลขที่ปรากฎอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน โดยส่วนใหญ่มักจะมีการใช้โดยไม่รู้ตัว เพราะเกี่ยวเนื่องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ การใช้เลขฐานที่หลากหลายจะช่วยให้ทำกิจกรรมบางอย่างสะดวกขึ้น

ตัวอย่างปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับเลขฐาน เลขฐานที่มักพบเจอในชีวิตประจำวันได้แก่เลขฐาน 2,7,10,12,16,60 เป็นต้น ตัวอย่างปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับเลขฐาน

การหาเลขฐาน มันใช้วิธีการหารสั้น ตัวอย่างเช่น แปลง 23 เป็นเลขฐาน 2 ได้ดังนี้

การหาเลขฐาน มันใช้วิธีการหารสั้น ตัวอย่างเช่น แปลง 23 เป็นเลขฐาน 3 ได้ดังนี้

การหาเลขฐาน มันใช้วิธีการหารสั้น ตัวอย่างเช่น แปลง 23 เป็นเลขฐาน 10 ได้ดังนี้

การหาเลขฐาน มันใช้วิธีการหารสั้น ตัวอย่างเช่น แปลง 23 เป็นเลขฐาน 16 ได้ดังนี้

การแปลงเลขฐานกลับเป็นเลขฐาน 10 แปลง (1101)2 เป็นเลขฐาน 10 ได้ดังนี้

การแปลงเลขฐานกลับเป็นเลขฐาน 10 แปลง (1101)3 เป็นเลขฐาน 10 ได้ดังนี้

การแปลงเลขฐานกลับเป็นเลขฐาน 10 แปลง (1421)5 เป็นเลขฐาน 10 ได้ดังนี้

การแปลงเลขฐานกลับเป็นเลขฐาน 10 แปลง (2A)16 เป็นเลขฐาน 10 ได้ดังนี้