โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม รวมพลคนจัดส่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง
Advertisements

การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ของแผนกบริการตำราและห้องสมุด
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการดูแลรักษาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (PC)
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
กลุ่มพัฒนางานรุ่นที่ 7-10 ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกธุรการจัดซื้อ -จัดจ้าง
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
ถุงเงิน ถุงทอง.
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
แผนกฟิล์มและแม่พิมพ์
หลักการและเหตุผล (มูลเหตุจูงใจ) ปัจจุบัน
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
กลุ่ม อาคาร 2 โครงการ ขอมาจัดไป
กระบวนการเพิ่มความพึงพอใจให้กับ Supplier
การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่ม Firstaid.
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
กลุ่ม KM สายสนับสนุน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
การให้บริการหลักฐานการศึกษา แบบ One Stop Service สำนักทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นำเสนอโดย อ.พรพรรณ ศุภภิญโญพงศ์ อ.ปุษยาพร อุทัยพยัคฆ์
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
หมวด7 15 คำถาม.
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ - จ่ายเงินสด.
Accounts payable system
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม รวมพลคนจัดส่ง

ลดจำนวนครั้งในการจัดส่งงานตัดตอน

ขั้นตอนการทำงานของธุรการ(งานจัดส่ง) จัดส่งจะได้รับงานพิมพ์ที่เสร็จแล้ว จาก แผนกทำสิ่งพิมพ์สำเร็จ นำงานที่พิมพ์เสร็จมา QC นับจำนวน ให้ถูกต้อง และจัดส่งให้ผู้รับบริการ กรณีที่งานพิมพ์ได้ไม่ครบจำนวนที่ผู้รับบริการสั่ง แผนกทำสิ่งพิมพ์ฯ จะต้องออกใบตัดตอนส่งมาให้พร้อมงาน

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ที่มีจำนวนพิมพ์มาก ๆ เพื่อให้ผู้รับบริการได้งานบางส่วนไปใช้งานก่อน จึงมีการตัดตอนการผลิต ทำให้ต้องจัดส่งงานหลายครั้ง เกิดค่าใช้จ่ายในการจัดส่ง งานพิมพ์อาจสูญหาย ระหว่างผลิต ทำให้หลงลืมการทำงานส่วนที่เหลือ ผู้รับบริการเกิดความกังวลใจ เกิดความไม่พึงพอใจ

ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ของโครงการ 80% ของงานตัดตอนจัดส่งไม่เกิน 2 ครั้งในหนึ่งงาน

สาเหตุและปัญหา

สรุปผลวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา สาเหตุหลัก คือ พนักงานหีบห่อไม่สนใจบันทึกรายละเอียดใน ใบตัดตอน สเปคสิ่งพิมพ์มีหลายขั้นตอน ขาดการฝึกฝนพนักงานตำแหน่งอื่นๆ ให้มีทักษะในการช่วยทำงานได้หลากหลาย

การแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ มีรายละเอียดดังนี้

จัดทำแบบฟอร์มใบตัดตอน ใหม่เพื่อให้พนักงานกรอกข้อมูลได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว แบบฟอร์มเก่า แบบฟอร์มใหม่

จัดทำสมุดบันทึกงานตัดตอน จะได้ตรวจเช็คงาน ได้ง่าย เพื่อสะดวกในการติดตามงาน วางแผนเพื่อกำหนดวันเสร็จของงานส่วนที่เหลือกับแผนกทำสิ่งพิมพ์สำเร็จ เป็นกำลังเสริม เมื่อแผนกทำสิ่งพิมพ์สำเร็จกำลังคนไม่เพียงพอ เพื่อให้งานเสร็จทันตามที่วางแผนไว้

ข้อมูลตัวชี้วัดเปรียบเทียบก่อนและหลังการปรับปรุง ผลลัพธ์การดำเนินการ ข้อมูลตัวชี้วัดเปรียบเทียบก่อนและหลังการปรับปรุง ข้อมูลก่อนปรับปรุง 3 เดือน (ธ.ค. 53 – ก.พ. 54) = 72.92 % ข้อมูลหลังปรับปรุง 7 เดือน (มี.ค. 54 – ก.ย. 54) = 81.82 % โรงพิมพ์สามารถส่งงานตัดตอนไม่เกิน 2 ครั้ง ในหนึ่งงานได้ตามเป้าหมาย คือ ได้มากกว่า 80%

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. คุณอรทัย นันทนาดิศัย ที่ปรึกษากลุ่ม 2. คุณศิริรัตน์ สุดสัตย์ ประธานกลุ่ม 3. คุณจารุวรรณ โกมลฐิติ เลขานุการ 4. คุณกมลรัศมิ์ สิริปัญญะกุล สมาชิก 5. คุณประสาน พึ่งผล สมาชิก 6. คุณวรรณา บูรณะพิมพ์ สมาชิก 7. คุณประเสริฐ มาจิตร สมาชิก 8. คุณไพบูลย์พงษ์ สุบรรณ ณ อยุธยา สมาชิก 9. คุณอนุชา เจริญวงษ์ สมาชิก 10. คุณเกษมสันต์ เพียรผาสุก สมาชิก 11. คุณประทีป เยาวกูล สมาชิก 12. คุณมนกานต์ จันทร์เทศ สมาชิก 13. คุณกนกวรรณ คงธนสมร สมาชิก

ขอขอบคุณ สวัสดีค่ะ