กลุ่ม Well Being 1 นางศรีนวล รัตนวรรณนุกูล ประธานกลุ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
สศ การเมืองและการปกครองของไทย POL
Lean กลุ่ม 1 เครือข่ายและเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ
“ลดระยะเวลาการดำเนินการสวัสดิการเงินกู้เคหะสงเคราะห์ของมหาวิทยาลัย”
 โครงการ การพัฒนาการดำเนินงานจัดสรรทุน CE/RU :
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
บริการผลการศึกษาทันใจกับ สทป.
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
การเพิ่มประสิทธิภาพ การส่งเบิกสวัสดิการรักษาพยาบาล
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
กลุ่มพัฒนางานรุ่นที่ 7-10 ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คำขวัญกลุ่ม “ร่วมแรงร่วมใจแก้ไขปัญหา”
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
โครงการบริการข้อมูลข่าว ข้อมูลภาพ ประชาสัมพันธ์ ผ่าน web site
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
หอพักนิสิต สำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการพัฒนาระบบจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลการใช้เอกสารของศูนย์เอกสารประเทศไทย ชื่อโครงการ.
กระบวนการเพิ่มความพึงพอใจให้กับ Supplier
การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่ม Firstaid.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
วิชา สัมมนาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ Seminar in Computer Information System รหัส หน่วยกิต.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ทางเลือกใหม่ ของ การตรวจสอบสิทธิ.
สรุปการปฏิบัติงาน มิถุนายน 2555
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ตืน
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1
สรุปผลการ ดำเนินงาน 5 สิงหาคม ผลคะแนนความพึงพอใจ ต่อกิจกรรม มีความพึงพอใจ 126 คน คิดเป็น ร้อยละ มีความไม่พึงพอใจ 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.82.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่ม Well Being 1 นางศรีนวล รัตนวรรณนุกูล ประธานกลุ่ม 1 นางศรีนวล รัตนวรรณนุกูล ประธานกลุ่ม 2 นางศุภกัญญา บินทปัญญา เลขานุการ 3 นางพิณธรัฐ กิติดำรงสุข สมาชิก 4 น.ส.ขจีพรรธณ์ รัตนศรีสมภพ สมาชิก 5 นางกมลวรรณ ตุ้มอยู่ สมาชิก 6 นางฐิตารีย์ กวยเกิดผล สมาชิก 7 นางอัมภวัล แสงจันทร์ผ่อง สมาชิก

หัวข้อปัญหา ผู้ป่วยได้รับการตรวจล่าช้า เก็บข้อมูลระยะเวลารอคอยแพทย์ เดือน มิถุนายน 2553 เฉลี่ย 55 นาที

ลดระยะเวลาการรอคอยการตรวจรักษาจากแพทย์ ( เป้า หมาย < 30 นาที ) โครงการ ลดระยะเวลาการรอคอยการตรวจรักษาจากแพทย์ ( เป้า หมาย < 30 นาที )

ผู้ป่วยรอทำการตรวจรักษาล่าช้า ขาดการจัดสรรจำนวนแพทย์ให้สอดคล้องกับเวลาที่ผู้ป่วยต้องการ ขาดการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการตามช่วงเวลา มาแล้วไม่มีแพทย์ ผู้ป่วยต้องการรับบัตรคิวก่อนและมารอรับการรักษา ไม่มีระบบการนัดที่ดี โปรแกรม Hos OS ยังไม่ตอบสนองความต้องการที่จำเป็นของผู้ใช้ จำนวนแพทย์ออกตรวจน้อยไม่สมดุลกับจำนวนผู้ป่วย มีผู้ป่วยมารับบริการเป็นจำนวนมาก ผู้ป่วยรอทำการตรวจรักษาล่าช้า ระยะเวลาการรอตรวจนาน ขาดการจัดสรรและควบคุมเวลาในการตรวจ ลืม หรือ ติด ภาระกิจอื่น ขาดการแจ้งเตือน หรือ ประสานงาน แพทย์ออกตรวจช้า ไม่มีการอำนวยความสะดวกเรื่องที่จอดรถ (กรณีนำรถมาเอง) ระบบไม่เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัย เวชระเบียนตรวจสอบสิทธิ์และรอแฟ้มประวัติการรักษาล่าช้า ในบางช่วงเวลา มีผู้มารับบริการเป็นจำนวนมาก ไม่เข้าใจขั้นตอนการรับบริการ ป้ายประชาสัมพันธ์ขั้นตอนการรับบริการ ไม่จัดเจน ไม่จูงใจ

กิจกรรม / กระบวนการแก้ไข 1. จัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการตามช่วงเวลา (ข้อมูลปี 2553) ช่วงเวลา มกราคม มิถุนายน ตุลาคม ธันวาคม 9.30 – 11.30 น. 809 990 718 848 11.31 – 13.30 น. 450 585 410 412 13.31 - 15.30 น. 798 917 967 783

2. จัดระบบแจ้งเตือนแพทย์ออกตรวจและประสานงานหา แพทย์ออกตรวจแทนกรณีที่มีแพทย์ลาหยุด 3. ประชุมหารือกับแพทย์ในการกำหนดระยะเวลาการตรวจผู้ป่วย กรณี ที่มีผู้รอรับบริการเป็นจำนวนมาก

4. หารือในหน่วยงานถึงความเป็นไปได้ในการหาแพทย์ออกตรวจ ช่วงเวลาที่มีผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก - เพิ่มแพทย์ออกตรวจในช่วงเวลาเช้า 8.00 – 10.00 น. เริ่ม มกราคม 2554 - เพิ่มแพทย์เฉพาะทาง เช่น อ.นพ.อัษฎาศ์ ลีฬหวนิสกุล (โรคไต) ออกตรวจเพิ่มในวันศุกร์ เช้า 9.30 - 11.30 น. รศ.นพ.วิวัฒน์ ก่อกิจ (โรคผิวหนัง) ออกตรวจเพิ่มวันพฤหัสบดี บ่าย 13.30 - 15.30 น.

สรุปผลการแก้ไข เก็บระยะเวลารอคอยแพทย์ ระหว่างวันที่ 20 -24 มิถุนายน 2554 จากผู้รับบริการตรวจรักษาด้านอายุรกรรม จำนวน 247 ราย ในช่วงเวลา 8.30 - 15.00 น. ระยะเวลารอคอยแพทย์เฉลี่ย 28 นาที