การเรียนรู้โปรแกรมช่วยออกแบบ Solid Edge

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
Microsoft Office PowerPoint 2003
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
Packet Tracer Computer network.
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Points, Lines and Planes
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Engineering Graphics II [WEEK5]
Project Management.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
โปรแกรม Microsoft Access
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เริ่มต้น Photoshop CS5.
โปรแกรม DeskTopAuthor
เลื่อยมือ hack saw.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 7
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
3D MAX ซอฟท์แวร์ที่สนใจ น.ส.กมลชนก ดาวแดน เลขประจำตัวนิสิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
วิชา งานฝึกฝีมือ( ) เวลาเรียน 6 ชม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
SolidWorks Week 1: 3D part modeling.
Pro/Desktop.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
SolidWorks Week 1: 3D part modeling.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนรู้โปรแกรมช่วยออกแบบ Solid Edge โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติภายใน In-house Practical Training ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล 21-25 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ผู้สอน : อ.วิทยา หมาดนุ้ย อ.สุทธิรัตน์ สุวรรณจรัส อ.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร

แนะนำภาพรวมของ Solid Edge โปรแกรมช่วยในการออกแบบ (Computer Aided Design -- CAD) ประกอบด้วยสภาวะการทำงาน (Environment) 4 แบบ Part : สร้างแบบจำลองของชิ้นส่วนหนึ่งหนึ่ง (Solid Modeling) Assembly : ประกอบชิ้นส่วนต่างๆเข้าด้วยกัน Sheet Metal : สร้างส่วนประกอบที่ทำจากโลหะแผ่น Draft : สร้างแบบ 2 มิติ ของชิ้นส่วนหรือชุดประกอบที่สร้างขึ้น การเริ่มโปรแกรม Start->Programs->Solid Edge-> …

Graphical User Interface Menu Bar เหมือนกับโปรแกรมอื่นๆ Main Toolbar ประกอบด้วยปุ่มคำสั่งต่างๆที่ใช้บ่อย Environment Specific Toolbar ทางซ้ายมือ มีปุ่มคำสั่งต่างๆ กันตามแต่สภาวะการทำงานขณะนั้น Feature Ribbon Bar ขั้นตอน,ทางเลือกต่างๆ ของคำสั่งที่ทำงานอยู่ Working Area บริเวณทำงานและแสดงภาพ Status Bar คำอธิบายคำสั่ง, ข้อมูลเกี่ยวกับคำสั่ง

การสร้างแบบจำลองชิ้นส่วน (Part Modeling) สร้างส่วนพื้นฐานเริ่มต้น (Base Features) เติมรายละเอียดส่วนต่างๆให้ชิ้นส่วน (Additional Features) โดยการเพิ่มหรือลดเนื้อวัสดุ ชิ้นส่วน 3 มิติ แต่หลายคำสั่งต้องมีการเขียน “Profile” ใน 2 มิติก่อน

การเขียนสเก็ตช์ใน 2 มิติ (2 D Sketch) อาจอยู่ในระหว่างคำสั่งสร้างส่วนต่างๆของชิ้นส่วน หรือผู้ออกแบบสร้างขึ้นมาต่างหากได้ ขั้นตอน เลือกระนาบ เขียน เสร็จสิ้น

การร่างรูปใน 2 มิติ (2 D Sketch) Elements : Lines , Arcs, Circles and Ellipse, Rectangles, Curves Treatment : Fillets, Chamfers, Trim, Extend, Offset Editing : Move, Rotate, Mirror, Scaling, Delete, Undo and Redo IntelliSketch Dimension : Smart, Distance, Angle, Coordinate, Symmetric Dia. Geometric Relationship

Profile Based Feature คำสั่งสร้าง Feature ที่ต้องเขียน Profile การเพิ่มเนื้อวัสดุ Protrusion Revolved Protrusion Swept Protrusion Loft Protrusion Helix Protrusion Rib การลดเนื้อวัสดุ Cutout Revolved Cutout Swept Cutout Loft Cutout Helix Cutout Hole

Protrusion/Cutout, Revolved Protrusion/Cutout เลือกคำสั่ง Feature Plane Step : เลือกระนาบอ้างอิงหรือพื้นผิวของชิ้นส่วน Profile Step : เขียน Profile บนระนาบนั้น (Closed/Open Profile) Side Step : กำหนดทิศทางการเพิ่ม/ลดวัสดุ Extent Step : กำหนดระยะการยืด Finish : ซ่อน Profile และสิ้นสุดคำสั่ง “ดูขั้นตอนการทำงานจาก Ribbon Bar”

Swept Protrusion/Cutout สร้าง Feature โดยการสร้าง Profile และกวาดไปตามเส้นทาง ขั้นตอน Path Step : กำหนดเส้นทาง อาจเขียนขึ้นหรือเลือกจากขอบของชิ้นส่วน Cross Section Step : กำหนดภาคตัดขวาง สร้างภาคตัดขวางแบบ Closed Profile

Loft Protrusion/Cutout สร้าง Feature โดยการสร้างภาคตัดขวางหลายๆอันที่ตำแหน่งต่างๆ แล้วให้โปรแกรมเชื่อมต่อเข้าด้วยกันอย่างต่อเนื่อง ภาคตัดขวางเป็นแบบ Closed Profile และต้องบอกจุดเริ่มต้น การเชื่อมต่อจะขึ้นกับลำดับของภาคตัดขวาง

Profile Based Features (ต่อ) Helix Protrusion/Cutout Rib Holes

Helix Protrusion/Cutout การทำ Feature ที่เป็นเกลียว เพิ่มหรือลดเนื้อวัสดุโดยการกวาด Profile ตามเส้นทางของเกลียว ต้องกำหนด แกนของเกลียว Profile ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ (จำนวนรอบ, ระยะพิทช์, ความสูงรวม)

Ribs ขั้นตอน Profile Step Direction Step กำหนดทิศทางตั้งฉากหรือขนานกับ Profile Side Step กำหนดข้างที่จะขยายเป็นความหนา (ซ้าย,ขวา, หรือสองด้าน) Finish Step

Holes การเจาะรู เจาะรูกลม และอาจจะมีลักษณะพิเศษ กำหนดแบบปากรู กำหนดแบบปลายรู รูเรียว หรือรูเกลียว

Treatment Features Feature ที่ไม่ต้องใช้ Profile Thin Wall Add Draft Round and Chamfer Pattern Features Mirror

Thin Wall การทำผนังบาง เป็นการเอาเนื้อวัสดุภายในของชิ้นส่วนตันออก ทำให้กลวง ขั้นตอน Common Thickness Step กำหนดความหนาผนังร่วม Open Face Step เลือกหน้าที่จะเปิด Unique Thickness Step กำหนดความหนาผนังเฉพาะด้าน Preview Step Finish Step

Add Draft การเพิ่มมุมลาดเอียง เป็น Feature ที่กำหนดมุมเอียงของชิ้นส่วน ใช้มากในงานหล่อ ขั้นตอน Plane Step กำหนดระนาบแบ่ง ที่จะเป็นจุดหมุนของความเอียง Face Selection Step เลือกหน้าที่จะทำให้เอียง Draft Direction Step กำหนดทิศทางของการเอียง (เข้าหรือออก)

Round การมนขอบ ลบมุมที่ขอบโดยการมนออก (Round) หรือเติมวัสดุ (Fillet) รัศมีอาจคงที่หรือแปรเปลี่ยนได้ ขั้นตอน เลือกขอบ เลือกด้านเริ่มและด้านสิ้นสุด (กรณีรัศมีไม่คงที่เท่านั้น) ดูก่อนและสิ้นสุด

Chamfers การลบมุมขอบ คล้ายกับ Round แต่เป็นการตัดมุมออกโดยใช้ระนาบ ระยะในการตัดอาจกำหนด ระยะเท่ากันทั้งสองด้าน (45องศา) หรือ ระยะสองด้าน หรือ ระยะหนึ่งด้านและมุมของการตัด ขั้นตอน เลือกหน้าอ้างอิง (ไม่จำเป็นกรณีระยะตัดเท่ากันทั้งสองด้าน) เลือกขอบที่จะลบมุม ใส่ค่าระยะตัด หรือมุม ดูก่อน และสิ้นสุด

Pattern Features การสร้างรูปแบบ ขั้นตอน เลือก feature ที่จะ copy เลือกระนาบที่จะเขียน pattern สร้าง pattern ของการ copy Preview / Finish

Mirror การทำ Feature ซ้ำแบบกระจกเงา ขั้นตอน เลือก Feature เลือกระนาบของกระจกเงา Preview / Finish

การจัดการ Features โดยใช้ PathFinder เลือก (Select Features) จัดลำดับใหม่ (Re-order Features) กระโดดไป (Go To) แสดงขั้นตอน (Playback Features) ลบออก (Delete Features) ตั้งชื่อใหม่ (Rename Features) แก้ไข (Edit Features) เปลี่ยนแปลงขนาด (Edit Dim.) Suppress a feature Un-suppress a features อื่นๆ