ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
กระบวนการเขียนโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
วิธีการทำงานของผังงาน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
คำสั่งลำลอง.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การวิเคราะห์ปัญหา ปัญหาอะไร ?.
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Computer Programming for Engineers
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction : Principle of Programming
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา.
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
Introduction ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ตรรกะพื้นฐานและการแก้ปัญหา Basic logic and Problem Solving 3(2-2-5)
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ชุดที่ 7 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

ทำไมถึงเรียนการโปรแกรม? การโปรแกรมช่วยให้เข้าใจคอมพิวเตอร์ ได้ดีขึ้น เข้าใจขั้นตอนการออกแบบระบบงานคอมพิว-เตอร์ดีขึ้น ทำให้ตัวเองทราบว่าชอบการโปรแกรมหรือไม่

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา (Defining the Problem) 2. วางแผนแก้ปัญหา (Planning the Solution) 3. ลงรหัสโปรแกรม (Coding the Program) 4. ทดสอบโปรแกรม (Testing the Program) 5. จัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม (Documenting the Program)

โปรแกรมเมอร์ (Programmer) โดยทั่วไปโปรแกรมเมอร์เป็นผู้เปลี่ยน วิธีแก้ ปัญหา ให้เป็น คำสั่ง สำหรับคอมพิวเตอร์

หน้าที่โปรแกรมเมอร์ ออกแบบโปรแกรม สั่งให้โปรแกรมทำงาน ทดสอบโปรแกรม แก้ไขโปรแกรม เขียนรายงานสำหรับโปรแกรม

เข้าใจปัญหา เราต้องพยายามหาว่า ในระบบปัจจุบัน : 1. อะไรเป็น INPUT - given data 2. ขั้นตอนการประมวลผล - process 3. ต้องการได้รับอะไร OUTPUT - result

เข้าใจปัญหา ในขั้นตอนนี้ มักจะมีปัญหาที่ ผู้วิเคราะห์ระบบ และ ลูกค้า มักเข้าใจไม่ตรงกัน ปัญหาอาจเกิดจาก ผู้วิเคราะห์ระบบ หรือ ลูกค้า

เข้าใจปัญหา ดังนั้นผู้วิเคราะห์ระบบควรจะเขียนข้อตกลงในหัวข้อดังต่อไปนี้กับลูกค้า INPUT PROCESS OUTPUT

เข้าใจปัญหา นอกจากนี้ในขั้นตอนนี้ ควรจะมีการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ของระบบใหม่ด้วย

ตัวอย่าง ปัญหา: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีนักศึกษามาก ทำให้การออกใบเกรดล่าช้า สำนักทะเบียนต้องการนำระบบคอมพิวเตอร์ มาช่วยในการประมวลผล

ตัวอย่าง Input เลขทะเบียน ชื่อ ที่อยู่นักศึกษา วิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอน เกรดที่นักศึกษาได้รับในแต่ละวิชา

ตัวอย่าง Output ใบเกรดสำหรับนักศึกษา

ตัวอย่าง Process วิธีคำนวณเกรดเฉลี่ย: สำหรับนักศึกษา ๅ ( หน่วยกิตของแต่ละวิชา * เกรดที่ได้รับ ) หน่วยกิตที่ลงทั้งหมด

วางแผนแก้ปัญหา โดยทั่วไปมี 2 วิธีคือ : 1. ใช้ FLOWCHART 2. PSEUDOCODE

Flowchart / Pseudocode START Pseudocode: start Read GPA if GPA < 2 then print “warning 1” endif stop read GPA GPA < 2 Y Print “WARNING1” N STOP

ลงรหัสโปรแกรม Pseudo- code หมายถึงการอธิบายการแก้ปัญหาในรูปของ Programming Language Basic Flowchart C Pseudo- code Cobol

ทดสอบโปรแกรม เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม วิธีการตรวจสอบมี 3 วิธีด้วยกัน : DESK CHECKING TRANSLATING DEBUGGING

จัดทำเอกสารประกอบระบบ เพื่อใช้ประกอบการพัฒนาระบบ เช่น : ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบ Flowchart Source code ความเห็นต่างๆ ฯลฯ

Symbols ข้อมูลเข้า / ผลลัพธ์ จุดเริ่มต้น / สิ้นสุด การประมวลผล จุดต่อเนื่อง การตัดสินใจ เส้นแสดงทิศทาง

คำถาม บริษัทแห่งหนึ่งมีปัญหาในการทำรายงานเงินเดือน ช้า และ ความถูกต้อง ต้องการ ให้นักศึกษา define the problem

รายงานเงินเดือน ประจำเดือน มกราคม 2542 ID ชื่อ เงินเดือน ภาษี (10%) จ่ายสุทธิ 001 แนน 10,000 1,000 9,000 002 วิไล 12,000 1,200 10,800 003 วรชัย 15,000 1,500 13,500 … … … … ...