บุญ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Advertisements

ศาสนพิธี.
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
พิธีกรรมต่างๆ พิธีกรรม =แบบอย่างในการกระทำหรือวิธีปฏิบัติ
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
พระวาจาทรงชีวิต มิถุนายน 2011.
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
โครงการพัฒนาคุณธรรม สำนึกไทย พัฒนาเด็กไทยอย่างยั่งยืน
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
วันมาฆบูชา.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ พ.ศ. ๒๕๕๓
ผู้บริหารพบนักเรียน.
ศาสนพิธี ในวิถีสังคมไทย
ขอเชิญเหล่า พุทธศาสนิกชนผู้สนใจ ร่วมงานบุญวันอาทิตย์ ณ วัดสังฆทาน ในวันอาทิตย์ที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
การชุมนุมรอบกองไฟ วันชัย สามสุวรรณ L.T.C..
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
ถวายเป็นพุทธบูชา (ฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ธรรม)
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
วันอาสาฬหบูชา.
วันเข้าพรรษา ปี 2552 ตรงกับวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2552.
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การบริหารจิต.
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
ครั้งที่ ๒.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การเขียน.
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หน่วย แผนกธุรการและกำลังพล
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส33101
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
อาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บุญ

บุญ ชาวพุทธเราส่วนใหญ่ยังเข้าใจผิด เกี่ยวกับเรื่องของ “ บุญ ” เกี่ยวกับเรื่องของ “ บุญ ” คิดว่าการทำบุญก็คือ การตักบาตร การถวายทรัพย์ , ปัจจัย การถวายสังฆทาน ฯลฯ เพียงเท่านี้ เป็นต้น

บุญ “ บุญ ” หรือ “ ปุญญ ” แปลว่า ชำระ หมายถึงการทำให้หมดจด จากมลทิน เครื่องเศร้าหมอง อันได้แก่ โลภะ โทสะ และ โมหะ

บุญ ตามพระไตรปิฎก เราสามารถสร้าง “ บุญ ” ได้ถึง ๓ อย่าง คือ ทาน ศีล ได้ถึง ๓ อย่าง คือ ทาน ศีล ภาวนา

บุญ ๑. ทาน คือ การให้ เช่นที่กล่าวมาแล้ว คือ การตักบาตร ๑. ทาน คือ การให้ เช่นที่กล่าวมาแล้ว คือ การตักบาตร บริจาคทรัพย์ ถวายสังฆทาน เป็นต้น ถือเป็น จาคะ หรือ การให้ นับเป็น บุญอย่างหนึ่ง แต่มีการให้บางประการที่ไม่นับเป็นบุญ เช่น สุรา มหรสพ ให้สิ่งเพื่อกามคุณ เป็นต้น

บุญ ๒. ศีล คือ ความประพฤติที่ไม่ละเมิด หรือรักษาความสำรวมทางกาย วาจา การรักษาศีลสำหรับฆราวาส ได้แก่ ศีล ๕ และอุโบสถศีล ( มี ๘ ข้อ )

บุญ ๓. ภาวนา ภาวนา คือ การอบรมจิต ทางสมถะและทางวิปัสสนา การนั่งสมาธิ เรียกว่า สมถะภาวนา ส่วนการนั่งวิปัสสนา ( สติรู้ถึงรูป – นาม ) เรียกว่า วิปัสสนาภาวนา

บุญ “ บุญ ” ยังมีอีก ๗ อย่าง ตามอรรถกถา หรือข้อปลีกย่อย นอกเหนือจากพระไตรปิฎก นับถัดไปเป็นลำดับที่ ๔ ดังนี้ ๔. อปจายนะ ความเป็นผู้นอบน้อม ต่อผู้ที่ควรนอบน้อม

บุญ ๕. เวยยาวัจจะ ความขวนขวายในกิจ หรืองาน ที่ควรกระทำ ๖. ปัตติทาน การให้บุญที่ตนถึงแล้วแก่คนอื่น เช่นการ อุทิศส่วนกุศล การกรวดน้ำ

บุญ ๗. ปัตตานุโมทนา คือการยินดีในบุญที่ผู้อื่นถึงพร้อมแล้ว เช่น เห็นผู้อื่นทำบุญตักบาตร เมื่อเราพลอยปลื้มปิติยินดี กล่าวอนุโมทนา เพียงเท่านี้ ก็ได้บุญแล้ว

บุญ ๘. ธัมมัสสวนะ หรือการฟังธรรม ไม่ว่าจะฟังธรรมโดยตรง หรือจากสื่อวิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ ๙. ธัมมเทศนา หรือ การแสดงธรรม เมื่อได้ศึกษาธรรมะแล้ว การถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่น นับเป็นบุญประการหนึ่งด้วย

บุญ ๑๐. ทิฏฐุชุกรรม คือการกระทำความเห็นให้ตรง หรือ สัมมาทิฏฐิ นั่นเอง

บุญ บุญทั้ง ๑๐ ประการนี้ บางที่เรียกกันว่า บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ จะเห็นว่าบุญทำได้ถึง ๑๐ อย่าง มีเพียงข้อแรกเท่านั้นที่ต้องใช้ทรัพย์ อีก ๙ ข้อล้วนไม่ต้องใช้ทรัพย์ รู้ว่าบุญทำได้อย่างนี้แล้ว วันนี้ คุณทำบุญแล้วหรือยัง

บุญ ช่วยส่งต่อเรื่องบุญนี้ ถือเป็นบุญประการหนึ่ง ดังพระพุทธวจนะ “ การให้ธรรมะ ชนะการให้ทั้งปวง ”