กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
แนวทางการดำเนินงาน การพัฒนาและเชื่อมโยงเครือข่าย และข้อมูลที่ต้องการ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
SWOT งานการเงินและบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรดิตถ์ (รับเชิญ) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (รับเชิญ)

จุดแข็ง (S) จุดอ่อน (W) โอกาส (O) อุปสรรค (T) ผู้บริหารระดับสูงให้ความสนใจสนับสนุน เพื่อพัฒนางานวิจัยและเป็นการสร้างเครือข่ายงานวิจัย มีบุคลากรทั้งอาจารย์ และนักวิจัย รวมทั้งบุคลากรในสาขาต่างๆ มีห้องปฏิบัติการในด้านต่างๆ เพื่อรองรับงานทางด้านพันธุวิศวกรรม มีการดำเนินงานด้านพันธุวิศวกรรมอยู่แล้ว จุดอ่อน (W) ขาดบุคลากรที่จะมาทำวิจัย และบุคลากรที่มีอยู่บางส่วนยังไม่ให้ความสนใจ ขาดงบประมาณ ทั้งงบในการดำเนินงานและงบประมาณสำหรับบุคลากร ห้องปฎิบัติการไม่สมบูรณ์ ขาดอุปกรณ์และเครื่องมือในการวิจัย ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญ ไม่มีความรู้ ไม่เข้าใจ และไม่เห็นความจำเป็นของ IBC ขาดเอกสารเกี่ยวกับกฎระเบียบต่างๆ ที่ใช้ควบคุมดูแล กรรมการตั้งแล้วไม่สามารถ implement ได้ โอกาส (O) มีมาตรฐานรับรอง มีแนวทาง ทิศทางหรือกรอบการวิจัยสำหรับนักวิจัย ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยงานอื่นได้ง่ายขึ้น ได้ข้อมูล ข่าวสาร และคำแนะนำที่เป็นประโยชน์และทันต่อสถานการณ์ ช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวิตในชุมชนและท้องถิ่น สามารถควบคุมเรื่องความปลอดภัยทางชีวภาพเพื่อจัดการกับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในสังคมได้ มีกรอบการดำเนินงานให้สามารถตรวจสอบและติดตามการดำเนินงานวิจัยทางพันธุวิศวกรรมได้ง่าย มีโอกาสเกิดงานวิจัยใหม่ อุปสรรค (T) ขาดการสนับสนุนจากแหล่งทุน ขาดกรอบแนวทางปฏิบัติที่จะควบคุมดูแลงานวิจัย การวิจัยและเทคโนโลยีจะไม่เกิดการพัฒนา ขาดช่องทางในเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และความรู้ใหม่ๆ ขาดความร่วมมือกับสถาบันอื่นๆ กฎหมายยังไม่มีผลบังคับใช้

IBC ใหม่จะช่วยอะไรได้บ้าง การให้ความรู้และข้อมูล การเป็นพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุนหน่วยงานอื่นๆ แบ่งปันอุปกรณ์สำหรับดำเนินงานวิจัย ให้คำปรึกษา ร่วมสร้างเครือข่ายในการดำเนินการ

ความต้องการจาก node ประสานงานกับ NBC, TBC และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นศูนย์กลางการส่งข้อมูล แจ้งข้อมูลข่าวสาร และให้คำแนะนำ ทั้งด้านการวิจัยพัฒนาและกฎระเบียบต่างๆ เช่น พรบ. ความปลอดภัยทางชีวภาพ เป็นพี่เลี้ยงและผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษา ช่วยเหลือเรื่องการพัฒนาเครื่องมือและห้องปฏิบัติการ

ความต้องการจาก TBC แนวทางปฏิบัติระดับชาติ มีการผลักดันให้ IBC นำแนวทางปฏิบัติไปใช้ เข้าสู่มาตรฐาน การฝึกอบรม หน่วยงานกลางในการติดต่อประสานงาน เป็นพี่เลี้ยง และให้คำปรึกษาทางวิชาการ ให้ทุนด้านการจัดซื้ออุปกรณ์

ความต้องการจาก NBC แจ้งข่าวสารเกี่ยวกับ พรบ. ความปลอดภัยทางชีวภาพ และให้คำแนะนำ ให้ข้อมูลและทำความเข้าใจกับประชาชน ให้แนวปฏิบัติเกี่ยวกับขั้นตอนการดำเนินงาน ให้ทุนวิจัย