กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
SWOT เรื่องจากจัดตั้ง IBC มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
สถาบันที่ยังไม่มี IBC จุดแข็ง มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านพันธุวิศวกรรม มีโครงสร้างพื้นฐานของห้องปฏิบัติการ มีทุนวิจัยจากหลายแหล่ง มีหลักสูตรสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ จุดอ่อน บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง IBC, biosafety และ พรบ. ขั้นตอนยุ่งยากมากขึ้น การกระจายข้อมูลและประชาสัมพันธ์น้อย โครงสร้างงบประมาณไม่เอื้ออำนวย โครงสร้างองค์กร (ในสถาบันที่มีหลายวิทยาเขต) มีการ set ห้องปฏิบัติการ แต่ขาดการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการกำจัดของเสีย
สถาบันที่ยังไม่มี IBC โอกาส งานวิจัยปลอดภัยมากขึ้น มีองค์ความรู้เพิ่มมากขึ้น มีมาตรฐานสำหรับงานวิจัยและประเมินคุณภาพการศึกษาดีขึ้น โอกาสในการได้รับทุนมากขึ้น มีฐานข้อมูลงานวิจัย ลดความขัดแย้งกับ NGOs มีแหล่งทรัพยากรชีวภาพ เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ ภัยคุกคาม ความขัดแย้งของผลประโยชน์ และผลประโยชน์ทับซ้อน ขั้นตอนการทำงาน และการขอทุนเพิ่มมากขึ้น ไม่เชื่อมั่นในจริยธรรมของผู้ประเมิน เช่น การขโมย idea งานวิจัย บทลงโทษจะทำให้ไม่มีผู้กล้าทำวิจัย
ปัญหาและอุปสรรคในการจัดตั้ง IBC ผู้บริหารไม่เห็นความสำคัญ โครงสร้างองค์กรไม่อำนวย เป็นอุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร งบประมาณไม่เพียงพอ ไม่ขอทุนวิจัย ไม่วิจัยเลย เพราะยุ่งยาก ไม่มีใครอยากมาเป็นกรรมการ เพราะเป็นการเพิ่มภาระงานโดยไม่จำเป็น ไม่ไว้วางใจกรรมการ
สิ่งที่ต้องการจากส่วนกลางและ IBC พี่เลี้ยง ข้อเสนอ ส่วนกลาง IBC พี่เลี้ยง 1. เดินสายชี้แจงผู้บริหาร ใช้ช่องทางกรรมการบริหารเครือข่าย (มทร. และ มรภ.) 2. อบรม นักวิจัย: วิธีการขออนุญาต กรรมการ: วิธีการประเมิน 3. ประชาสัมพันธ์ให้ตระหนักความสำคัญ 4. งบประมาณ เพื่อกิจกรรมต่างๆ เช่น จัดฝึกอบรม / ดูงานใน IBC พี่เลี้ยง / เชิญ IBC ร่วมเป็นกรรมการ / เดินทางเข้าร่วมสังเกตการในการประชุม IBC / บริหารจัดการการประชุม IBC 5. ให้มีการลงนาม MOU เพื่อให้ผู้บริหารเห็นความสำคัญและได้งบประมาณ 6. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและมาตรฐาน 7. ศูนย์ให้คำปรึกษา เป็นพี่เลี้ยง