การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การสื่อสารและ โทรคมนาคมของไทยกับ การเปิดเสรี นางสาวชุติมา บุณยประภัศร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภายใต้ความตกลงอาเซียน
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
Evaluation of Thailand Master Plan
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
A ASEAN E ECONOMICS C COMMUNITY GO TO 31 DECEMBER 2015 FOR THAI CUSTOMS DEPARTMENT นักวิชาการศุลกากร ชำนาญการพิเศษ :
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ (10-1-55) สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรนักการ คลังมืออาชีพ (นคอ.) รุ่นที่ 1

AEC (1) การรวมกลุ่มประเทศ โดยมีธรรมนูญเพื่อเดินไปในทิศทางเดียวกัน มีมาตรการและสิทธิ ประโยชน์เพิ่มเติมในกลุ่มสมาชิก เพิ่มเติมจาก WTO อาเซียนก็เช่นเดียวกัน มีการจัดทำกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เพื่อเป็นพิมพ์ เขียวในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ครอบคลุมประเด็นความมั่นคง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ เสาหลักของ AEC ตลาดและฐานการผลิตร่วม เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสนอภาค (ให้ความช่วยเหลือกัน) บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (พัฒนาต่อไปร่วมกับประเทศอื่นในโลก อาทิ ASEAN+3 AIFTA AANZFTA AJCEP ACFTA AKFTA)

AEC (2) AEC ภาษีเป็น 0 และกำจัดข้อกีดกันที่ไม่ใช่ภาษี (NTB) ในปี 2010 (อาเซียนเก่า 6 ประเทศ) ที่พรมแดน ส่วนในประเทศต้องปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันด้วย (National Treatment) นอกจากนี้ ยังครอบคลุมการเปิดเสรีธุรกิจบริการ (ให้คนในอาเซียนถือหุ้นได้ถึง 70%) ในปี 2010 (แต่ประเทศไทยขอใส่ในกล่อง Sensitive ไว้ก่อน และเรายังมีพรบ. การ ประกอบธุรกิจคนต่างด้าว ซึ่งต้องแก้ไขในอนาคต) ในส่วนของการลงทุน เรามี BOI อยู่แล้ว การเปิดเสรีการลงทุนจึงสอดคล้องกับนโยบาย รัฐ (มีติดที่กฎหมายแต่ไม่ใช่ธุรกิจที่สำคัญ) และมีการคุ้มครองการลงทุนด้วย (ACIA) ในส่วนของการเปิดเสรีแรงงาน (มีฝีมือ) เปิดให้ประชาชนอาเซียนสามารถสมัครสอบ เพื่อใบประกอบวิชาชีพใน 7 สาขา (อาทิ วิศวกรรม แพทย์ พยาบาล )

AEC (3) ในประเด็นการเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรี ประเทศไทยจะเปิดเสรีบัญชีทุน (ตาม นโยบายของรัฐและสามารถใช้ Safeguard ได้) อำนวยความสะดวกในการโอน และการชำระเงินมากขึ้น รวมถึงความร่วมมือในการพัฒนาตลาดทุน ความร่วมมือด้านอื่นๆ ที่สำคัญ คือ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญหา (จดแล้วสามารถใช้ได้ทั่วไปในอาเซียน) นโยบายการแข่งขัน (คุ้มครองไม่ให้เกิดการผูกขาด) อื่นๆ เช่น ด้านศุลกากร (Single Window) สุขอนามัย และความมั่นคงด้านอาหาร อย่างไรก็ตาม การไม่แก้ปัญหาภายในให้เรียบร้อยก่อนเจรจา (เพื่อให้เป็นเงื่อนไข และจุดยืนเดียวกันในทุกๆ สัญญาการค้า) ทำให้เกิดปัญหาตามมาในการปฏิบัติ

AEC (4) อย่างไรก็ตาม มาตรฐานและกฎเกณฑ์ต่างๆ จะเป็นสากลมากขึ้น การเชื่อมโยงภายในภูมิภาค (อาทิ การขนส่ง การถ่ายทอดวัฒนธรรม และการ สื่อสาร) เป็นสิ่งจำเป็นต้องตามมา พร้อมกับการปรับกฎเกณฑ์ให้เป็นมาตรฐาน ใกล้เคียงกัน รวมถึงมาตรการการส่งเสริมของรัฐและการอำนวยความสะดวกแก่ภาคเอกชน โดยเฉพาะการปรับปรุงกฎระเบียบและเกณฑ์การปฏิบัติ การให้ความรู้ การ ส่งเสริมให้มีการใช้สิทธิ การสนับสนุนด้านการตลาด การเข้าถึงแหล่งทุน รวมถึง การใช้มาตรการปกป้อง (Safeguard)