ระบบ RSS สมาชิกในกลุ่ม ๒๔ สมาชิกในกลุ่ม ๒๔ ๑. นางสาววลีรัตน์ แก้วชนะรหัส ๑. นางสาววลีรัตน์ แก้วชนะรหัส ๒. นายวราธิป ล้อวชิรวัฏฏ์รหัส ๒. นายวราธิป ล้อวชิรวัฏฏ์รหัส ๓. นายสุชาติ พูลทรัพย์ รหัส ๓. นายสุชาติ พูลทรัพย์ รหัส ๔. นายนัฐปภัส รหัส ๔. นายนัฐปภัส รหัส
บทนำ RSS ย่อมาจาก “Really Simple Syndication” ซึ่ง อาจแปลเป็นไทยได้ว่า “ การกระจายข่าวสารอย่าง ง่ายๆ ” ซึ่ง RSS มีวิธีการกระจายข่าวสารโดยกำหนดให้ ผู้ที่ต้องการจะกระจายข่าวสารทำการสร้าง RSS Feed ซึ่งเป็นไฟล์ที่อยู่ในรูปแบบของ XML ขึ้นมาไว้บน เซิร์ฟเวอร์ และนำลิงค์ของไฟล์นั้นแจกจ่ายให้กับผู้ที่ ต้องการติดตามข่าวสารจากผู้กระจายข่าวสาร ขั้นตอน ถัดมาผู้ที่ต้องการจะติดตามข่าวสารจะต้องทำการสมัคร หรือลงทะเบียนกับ RSS Feed นั้นๆ โดยใช้ RSS Reader ซึ่ง RSS Reader นี้จะเป็นตัวดึงข่าวสารจาก ต้นทางหรือผู้กระจายข่าวสารแล้วส่งไปยังปลายทาง หรือผู้ติดตามข่าวสารเป็นระยะๆ โดยที่ผู้ติดตาม ข่าวสารไม่จำเป็นจะต้องทำการตรวจสอบจากหน้า เว็บไซต์ด้วยตนเองเพียงเพื่อต้องการจะทราบว่ามี ข้อมูลใหม่ๆหรือข่าวสารใหม่ๆหรือไม่
บทนำ ( ต่อ ) การพัฒนา RSS แต่ละเวอร์ชัน เวอร์ชันออกโดยเดือนปีที่ ออก 0.9 GuhaNetscape มี. ค LibbyNetscape ก. ค RSS- DEV Working Group ธ. ค Winer Userland ธ. ค WinerUserland ก. ย. 2545
บทนำ ในปัจจุบัน RSS ซึ่งเป็นรูปแบบย่อยอย่างหนึ่งของ XML นั้น ถูกใช้มากในการส่งเนื้อหาที่มีลักษณะเป็น ข่าว เว็บบอร์ด หรือบล็อก โดยมีโครงสร้างที่เป็น มาตรฐานคือมีหัวข้อ วันที่ และเวลา พร้อมทั้งเนื้อหา บางส่วน อีกทั้งยังสามารถลิงค์ไปยังรายละเอียดของ เนื้อหานั้นๆได้อีกด้วย Feed คือคำเรียกรวมของ RSS Feed, Web Feed หรือ XML Feed เป็นการส่งข้อมูลบนเว็บไซต์ที่เพิ่งอับ เดทไปยังโปรแกรมอ่าน feed ของผู้อ่าน ทำให้ผู้ที่ สมัครรับ feed สามารถอ่านเนื้อหาบนเว็บไซต์ที่สมัคร ไว้ได้โดยตรงเลยจากโปรแกรมอ่าน feed คะ โดยที่ไม่ ต้องเข้าเว็บไซต์นั้น ๆ โปรแกรมที่ใช้อ่าน feed หรือ เรียกว่า Feed reader หรือ Feed aggregator หรือ RSS aggregator มีหลายโปรแกรมให้เลือกใช้ เช่น Google Reader, Mozilla Firebird, Microsoft Outlook( ลง Plugin เพิ่มเติม ), RSSOwl, RSSReader เป็นต้น
เหตุผลที่ต้องใช้ RSS อ่านบล็อกวันละหลายบล็อก (100ish+) บุ๊กมาร์กบล็อกที่เคยอ่านไป บางบล็อกมีอัปวันละมากกว่าหนึ่งเอนทรี อย่างเช่นคุณตุ้มเป๊ะอารมณ์ดีอัปบล็อกสาม เอนทรีคุณตุ้มเป๊ะ ไม่ได้เข้าเน็ตหลายวัน พอเข้ามาทีต้องมานั่งไล่ กดไล่ย้อนอ่าน... นอกจากนี้ อ่านข่าวจากหลายเว็บพร้อมกัน
เพื่อสะดวกในการอ่าน ซึ่งฟีดรีดเดอร์ก็มีหลายยี่ห้อ เหมือนกัน ไม่ว่า กูเกิลรีดเดอร์ (Google Reader) หรือ ไอกูเกิล (iGoogle) มายยาฮู ! (My Yahoo!) นิวส์เก เตอร์ (Newsgator) เน็ตไวบส์ (Netvibes) และอื่นๆ อีกเป็นร้อย ส่วนตัวผมเองใช้กูเกิลรีดเดอร์ เพราะว่า สะดวกที่ใช้ล็อกอินเดียวกับจีเมล แล้วก็ยังโหลดมา อ่านแบบออฟไลน์ได้ ถ้าใครสนกูเกิลรีดเดอร์ วิธีใช้และ วิธีแอดเข้าไปในฟีดลองอ่านได้ที่ กูเกิลรีดเดอร์ - นับ ข้อดีได้ 5 ข้อแล้ว มีอธิบายไว้ครับ กูเกิลรีดเดอร์ ไอกูเกิล มายยาฮู ! นิวส์เก เตอร์ เน็ตไวบส์ กูเกิลรีดเดอร์ - นับ ข้อดีได้ 5 ข้อแล้ว ติดตั้ง : ใน exteen ไม่ต้องทำอะไร เพราะเว็บมาสเตอร์ เซ็ตระบบให้บริการแล้วทุกบล็อก ( ข้ามไปได้ ) แต่ถ้า ติดตั้งฟีดเบิร์นเนอร์เพิ่ม ( แบบของผมด้านขวาบนสุด ของไซด์บาร์ ) ก็จะสะดวกเพราะช่วยนับคนที่อ่านผ่าน ฟีดเราได้ ข้อเสีย : stats ของคุณเจ้าของบล็อกก็จะไม่ค่อยขยับ เพราะว่าคนอ่านผ่านเว็บน้อยลง ( แต่คนอ่านเท่าเดิม นะ )
ประยุกต์ใช้ โปรแกรมอ่าน RSS FEED ให้กับผู้พิการทาง สายตา (RSS FEED Speech Reader) การพัฒนาระบบเว็บท่าด้วย RSS สำหรับการ ติดตามและจัดส่งข่าวสาร การหาคำศัพท์ (Hangman) ด้วยการ RSS Feed
พัฒนาต่อโดยใช้ในการ Feed อัตราแลกเปลี่ยน หุ้น RSS นิยมใช้กับเนื้อหาประเภทใด ? ข่าว ซึ่งจะมีโครงสร้างค่อนข้างเป็นมาตรฐานคือมีพาดหัวหลัก, พาดหัวรอง, วันที่และเวลา, รายละเอียดโดยย่อ ส่วนเนื้อหา หรือ ข้อความหลักของข่าว จะมีลิงค์เชื่อมโยงไปให้อีกทีหนึ่ง เปิด แล้ว - กับการให้บริการ -Rss-Feed- เต็ม รูปแบบฟรี.html บล็อก (blog หรือ weblog) ซึ่งมีโครงสร้าง ข้อมูล คือ หัวข้อ, เนื้อหา, จำนวนความคิดเห็น, เนื้อหาความ คิดเห็น, วันที่และเวลา เป็นต้น ข้อมูลสินค้า ซึ่งรายละเอียด ขึ้นอยู่กับเว็บไซต์ที่ให้บริการ เช่น อัพเดทข้อมูลราคาและสินค้า ใหม่ Read more : 7.html?topic=RSS- คืออะไร - อะไรคือ -Rss-feed- ที่นี่ เลย.html#ixzz1QYorROrq เปิด แล้ว - กับการให้บริการ -Rss-Feed- เต็ม รูปแบบฟรี.htmlhttp:// 7.html?topic=RSS- คืออะไร - อะไรคือ -Rss-feed- ที่นี่ เลย.html#ixzz1QYorROrq