เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
Advertisements

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
กลุ่มเศรษฐกิจ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ผู้สูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
น.ส.จันทิมา วรวัตรนารา แอนิเมชั่น&มัลติมีเดีย
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ข้อมูลที่น่าสนใจ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดูแล ผู้สูงอายุ. ประชากร 60 ปี ≥ 10% หรือ 65 ปี ≥ 7% ประเทศ ก้าวสู่ สังคม ผู้สูงอายุ
เดือนละ...4, , , ปัจจัย ผ่อนบ้าน, รถ เลี้ยงดูบุตร, พ่อ, แม่
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
ผู้สูงอายุไทยในทศวรรษหน้า
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
 ผู้ฟังในกลุ่มมีจำนวนทั้งสิ้นเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลเพศหญิงหรือเพศ ชาย วัยใด ในสัดส่วนเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลที่มาจากกลุ่ม สังคมหรือกลุ่มอาชีพประเภทใด.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ

ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงทุกชีวิตในสังคม สภาพสังคม อายุ เป้าหมายชีวิต

สภาวะทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง สังคมเกษตรกรรม / อุตสาหกรรม การแข่งขันในตลาดโลก ที่ไร้พรมแดน ครอบครัวขยาย / เดี่ยว แต่งงานเร็ว / ช้า

สภาวะทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง มีบุตรเร็ว / ช้า พึ่งพากัน / พึ่งตนเอง ครองโสดมากขึ้น การขยายตัวของเมือง การย้ายถิ่นฐาน

อายุเฉลี่ยของประชากรไทย อายุ (ปี) 50 40.1 40 34.1 30.5 28.9 30 19.5 20 18 10 ปี 2503 2523 2543 2548 2558 2589 หากมีประชากรมีอายุเฉลี่ยมากกว่า 30 ปี ถือเป็นประเทศผู้สูงวัย ข้อมูลจากงานวิจัยโครงการทบทวนองค์ความรู้เรื่อง “ระบบสถานบริบาลผู้สูงอายุ” โดย ผศ.ร.อ.หญิง ดร.ศิริพันธุ์ สาสัตย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสนับสนุนของมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)

สัดส่วนประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ต่อประชากรทั้งหมด อายุ (ปี) 25 19.8 20 14.2 15 10.5 9.3 10 5.2 4.8 5 ปี 2503 2523 2543 2548 2558 2568 หากมีประชากรอายุมากกว่า 60 ปี เกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ถือเป็นประเทศผู้สูงวัย ข้อมูลจากงานวิจัยโครงการทบทวนองค์ความรู้เรื่อง “ระบบสถานบริบาลผู้สูงอายุ” โดย ผศ.ร.อ.หญิง ดร.ศิริพันธุ์ สาสัตย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสนับสนุนของมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)

โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลง 70 65.5 65.9 64.4 65.7 65.3 60 57.4 50 36.7 40 30 27.4 25.2 24.9 24.5 20 20 14.7 8.2 9.3 9.4 9.6 10 5.7 2527 2539 2544 2545 2546 2562 วัยเด็ก วัยทำงาน วัยสูงอายุ ที่มา ประมาณการประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2527-2562 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สัดส่วนคนทำงาน / ผู้สูงอายุ ปี คนทำงาน ผู้สูงอายุ 2543 2548 2563 2568 2595 100 คน 13 คน 100 คน 100 คน 100 คน 100 คน 16 คน 23 คน 31 คน 50 คน

เป้าหมายในวัยเกษียณ มีสุขภาพที่แข็งแรงและมีชีวิต ที่ยาวนานมากขึ้น ไม่มีภาระหนี้สิน มีชีวิตที่สุขสบายในวัยเกษียณ มีเงินใช้จ่ายทั้งในยามปกติ ยามเกษียณ และในกรณีฉุกเฉิน ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน มีเงินเหลือเป็นมรดกตกทอดให้แก่ลูกหลาน

ปัญหาทั่วไปของคนวัยเกษียณ ด้านสุขภาพ ภูมิต้านทานโรคต่ำ มีโอกาสเป็นโรคสูง การรักษาให้หายเป็นปกติ ทำได้ยากกว่าวัยอื่น

ปัญหาทั่วไปของคนวัยเกษียณ ด้านการเงิน รายได้ต่ำ เพราะไม่ได้ ประกอบอาชีพ ขาดแคลนเงินออม ด้านสังคม ความรู้สึกว้าเหว่ การขาดคนดูแล