“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์” ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การสัมมนา “การส่งเสริมงานวิจัย และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์ จากหิ้งสู่ห้าง” 3 กันยายน 2553
“ การส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จะประสบความสำเร็จได้ต่อเมื่อเข้าใจถึง ประเภท และขนาด ของอุตสาหกรรม หรือแหล่งผลิต นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องเลือก รูปแบบ วิธีการดำเนินการที่เหมาะสม ด้วย”
ประเภทของอุตสาหกรรม หรือแหล่งผลิตสินค้า แบ่งตามมุมมองของการพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัย คือ 1 อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็น คนไทย 2 อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็น คนต่างชาติ
“อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นคนต่างชาติมักจะทำวิจัย ที่บริษัทหลักในต่างประเทศ”
ขนาดอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ SME
รูปแบบในการทำวิจัย หน่วยงานของรัฐ เช่น มหาวิทยาลัย ทำวิจัย โดยใช้งบประมาณจากรัฐเป็นหลัก 1 2 อุตสาหกรรมทำวิจัยภายในบริษัทเอง อุตสาหกรรมสนับสนุนทุนให้ หน่วยงานของรัฐทำวิจัย เพื่อนำผลมาแก้ปัญหาการผลิตขององค์กร 3 อุตสาหกรรมและหน่วยงานของรัฐ ทำวิจัยร่วมกัน องค์ความรู้ที่ได้มาแบ่งปันผลประโยชน์กัน 4
การเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของรูปแบบในการทำวิจัยแต่ละรูปแบบ ตาราง การเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของรูปแบบในการทำวิจัยแต่ละรูปแบบ ข้อเสีย รูปแบบ ข้อดี โจทย์วิจัยมักมาจากนักวิจัยเอง เป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นฐาน 1. หน่วยงานของรัฐทำวิจัยเอง งบประมาณของรัฐจำกัด นิสิต/นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกทำวิจัย นักวิจัยส่วนใหญ่ ไม่ถนัด ทำวิจัยเพื่อบริการการผลิต นักวิจัยมีความกดดันสูง เนื่องจากการคาดหวังของบริษัท องค์ความรู้ที่ได้ทั้งหมดเป็นของบริษัทแต่ผู้เดียว 2. อุตสาหกรรมทำวิจัยเอง ได้ผลงานที่นำไปใช้จริงในเวลาจำกัด (สั้น) นักวิจัยส่วนใหญ่จะมองปัญหาลึกและแคบ
ข้อเสีย รูปแบบ ข้อดี 3. อุตสาหกรรมจ้างหน่วยงานของรัฐทำวิจัย เป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นฐาน 3. อุตสาหกรรมจ้างหน่วยงานของรัฐทำวิจัย ผลงานวิจัยมักไม่ทันเวลา 4. การทำวิจัยร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรม หรือผู้ผลิต และหน่วยงานของรัฐ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาวิทยาลัย) เป็นการรวมเอาจุด เด่นของการวิจัยของทั้งสององค์กร มาใช้ประโยชน์เต็มที่ องค์กรความรู้พื้นฐานไม่สามารถเก็บเป็นความลับได้
หน่วยงานที่ทำวิจัย(มหาวิทยาลัย) กุญแจแห่งความสำร็จในการทำวิจัย (Key of Success) “หุ้นส่วน” (partnership) แหล่งทุน อุตสาหกรรม หรือ หน่วยงานที่ทำวิจัย(มหาวิทยาลัย) ผู้ผลิต
รูปแบบการทำวิจัยร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมหรือผู้ผลิต และมหาวิทยาลัย นักวิจัยบริษัท วิจัยแบบมุ่งเน้น ผลิตภัณฑ์ใหม่ คณาจารย์ ฐานความรู้ (knowledge base) วิจัยพื้นฐาน นิสิต/นักศึกษา
คณาจารย์นิสิต/นักศึกษา อุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ รัฐ โครงสร้างพื้นฐาน ผลิตภัณฑ์ใหม่ เงินลงทุน และดำเนินงาน มหาวิทยาลัย คณาจารย์นิสิต/นักศึกษา อุตสาหกรรม โจทย์วิจัย นักวิจัย องค์ความรู้พื้นฐาน
มหาวิทยาลัย SME รัฐ ผู้ประกอบการ สถาบันวิจัย เฉพาะทาง งบลงทุน งบดำเนินงาน นักวิจัย โจทย์วิจัย ผู้ประกอบการ สถาบันวิจัย เฉพาะทาง คณาจารย์ นิสิต/นักศึกษา มหาวิทยาลัย องค์ความรู้พื้นฐาน
บทสรุป รูปแบบที่เหมาะสม ที่จะทำให้ผลงานวิจัย ได้นำไปใช้ประโยชน์จริง ในภาคการผลิต คือ การทำวิจัย ร่วมกัน ระหว่าง ภาครัฐ และภาคการผลิต กุญแจแห่งความสำเร็จในการทำวิจัยคือ “หุ้นส่วน” และ ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน