สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย
ประเด็นที่นำเสนอ
Strategies Strategic Position What to do? How to do? = X Value Creation = Opportunities Strategies Capabilities X What to do? Strategic Position How to do?
Dual Track : Global Local Links Community- Urban Trade Community- Global Between- Community Within-Community Self-Sufficiency Surplus Specialization Social Cohesion International Competitiveness Sufficiency Community Building Cultural Identity Family Value Efficiency Cost effective Productivity Innovation
Active International Player Owner of Advance Technology Positioning Thailand Knowledge-Based Economy Active International Player Owner of Advance Technology HPE Public Sector Reform PrivateSector Reform Global Niches Society of Good Living Macro Economic Foundation Fiscal & Monetary Policies Trade and Investment Policies International Policies Generic Factors Human Resources S&T Management Infrastructure Awareness
กฎระเบียบ โครงสร้างพื้นฐาน แรงงาน เทคโนโลยี (กรณีโทรคมนาคม) SMEs มีทรัพยากรที่จำกัดใน การปฏิบัติตามกฎระเบียบ กฎระเบียบมีจำนวนมาก ล้าสมัย และสร้างต้นทุนแก่ธุรกิจ อุตสาหกรรมผูกขาด หรือ กึ่งผูกขาด ราคาค่าบริการสูงกว่าประเทศ ข้างเคียง แรงงาน เทคโนโลยี แม้ว่าแรงงาน S&T มีปริมาณ มากขึ้น แต่ยังมีน้อยกว่า ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ แรงงานมีปัญหาเรื่องคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาส่วนใหญ่ อยู่ในภาครัฐ ระบบสนับสนุนภาคเอกชนไม่มี ประสิทธิผล
สรุปผลจากการประชุมกลุ่มย่อย
สรุปผล Position และ What to do? : เป็นที่ยอมรับของที่ประชุม และอาจมีการเพิ่มเติมได้อีกตามความเหมาะสม กำหนดความหมายของ Position ให้ชัดเจน เช่น Knowledge Based Economy รวมทั้งสร้างความเข้าใจเรื่อง Competitiveness ว่าเป็น National Agenda และต้อง ดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป็นเรื่องที่ต้องทำร่วมกันทุกฝ่าย โดยมีการพัฒนาข้อมูล และวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
สรุปผล Global Niches : ต้องมีการกำหนดความหมายของ Global Niches ให้ชัดเจน ต้องสร้างความเข้าใจให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อาจมีการกำหนด Niches อื่นๆ เพิ่มเติมได้ เช่น Health Industry กำหนดนโยบายเพื่อการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) ต้องเป็นไปด้วยความรอบคอบและขึ้นอยู่กับ ความพร้อมของภาคเอกชน
สรุปผล ปัญหาที่เป็นตุ้มถ่วงของความสามารถในการแข่งขัน คือ คอรัปชั่น กฎระเบียบ ระบบภาษี (อัตราภาษีและการจัดเก็บ) การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ควรเน้น การสนับสนุน SMEs การพัฒนา R&D การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ระบบการศึกษาและแรงงาน) การให้ความสำคัญกับ Social Impact การดำเนินการต่อไป : ควรมีการกำหนด How to do? ในแต่ละด้านให้ชัดเจน ส่วนหนึ่งควรมีการใช้ประโยชน์จาก การศึกษาวิจัยต่างๆ ที่ผ่านมา
สรุปผล แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถ ต้องทำให้เป็น National Consensus ต้องทำทั้งระบบอย่างจริงจัง ต้องทำร่วมกันทุกฝ่ายทั้งภาคเอกชน และภาครัฐ