รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง การเขียนตำรา รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การเขียนตำรา ตำรา : การนำเสนอความรู้ แนวคิด ทฤษฎี หลักการเขียนตำรา แต่งตำรา เรียบเรียงตำรา
คุณลักษณะของตำราวิชาการที่ดี เนื้อหาสาระถูกต้อง มีความใหม่ ทันสมัย ความกว้างขวางครอบคลุม ความกระชับรัดกุม
คุณลักษณะของตำราวิชาการที่ดี 4. ความชัดเจน 5. ความต่อเนื่องประสานสัมพันธ์
ตำราทางวิชาการ ที่จะได้รับการยอมรับ มีความลึกซึ้งในการเขียน การผสมผสานผลการวิจัยหลายเรื่อง ระบุแหล่งอ้างอิง
ตำราทางวิชาการ ที่จะได้รับการยอมรับ 4. ให้ความรู้จริง 5. นำไปประยุกต์ใช้ได้
ขั้นตอนการเขียนตำรา ขั้นที่ 1 การเลือกเรื่องที่จะเขียน ขั้นที่ 1 การเลือกเรื่องที่จะเขียน ขั้นที่ 2 การรู้จักผู้อ่าน ขั้นที่ 3 การประมวลข้อมูล ขั้นที่ 4 การเก็บประเด็นหรือแนวคิด ของเรื่องที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการเขียนตำรา ขั้นที่ 5 การวิเคราะห์ ประเมิน สรุป และหาจุดเด่น จุดด้อยของสิ่งที่ มีผู้เขียนหรือเสนอไว้ ขั้นที่ 6 การแสวงหา พัฒนาแนวทาง ของตนเอง
ขั้นตอนการเขียนตำรา ขั้นที่ 7 การกำหนดโครงร่างของ ตนเอง ขั้นที่ 7 การกำหนดโครงร่างของ ตนเอง ขั้นที่ 8 การพิจารณาความต่อเนื่อง กว้างขวาง ครอบคลุมของ โครงสร้าง
ขั้นตอนการเขียนตำรา ขั้นที่ 9 การหาข้อมูลรายละเอียด ประกอบโครงสร้าง ขั้นที่ 9 การหาข้อมูลรายละเอียด ประกอบโครงสร้าง ขั้นที่ 10 ลงมือเขียน
ขั้นตอนการเขียนตำรา ขั้นที่ 11 อ่านซ้ำ ขั้นที่ 11 อ่านซ้ำ ขั้นที่ 12 พิจารณาความต่อเนื่องและ ความสอดคล้องสมบูรณ์ตลอด ทั้งเล่ม
ข้อเสนอแนะ อ่านให้มาก ใช้ความคิดให้มาก เริ่มลองเขียน ใช้ภาษาที่สั้น กะทัดรัดและเข้าใจง่าย
หนังสือเรียน ส่วนประกอบ ส่วนหน้า ส่วนเนื้อหา ส่วนท้าย
1. ส่วนหน้าของหนังสือ ปกหน้า ปกหนัง สันปก ใบรองปก 2. ส่วนเนื้อหาของหนังสือ 2.1 บทนำ 2.2 เนื้อเรื่อง 2.3 ภาพในหน้าเนื้อเรื่อง
3. ส่วนท้ายของหนังสือ 3.1 หน้าภาคผนวก 3.2 หน้ากิจกรรมอื่นๆ 3.3 หน้าบรรณานุกรม
การกำหนดโครงสร้างเนื้อหา ของหนังสือเรียน สร้างตามขั้นตอนของคำอธิบายรายวิชา ใช้ลักษณะโครงสร้างเนื้อหาวิชาของสาขาวิชานั้นๆ
การกำหนดโครงสร้างเนื้อหา ของหนังสือเรียน สร้างโดยวิธีนำจุดประสงค์การเรียนรู้ตามหลักสูตร กำหนดจุดประสงค์การเรียนเฉพาะ
การกำหนดเนื้อหาภายในบท ส่วนนำเรื่อง ส่วนเนื้อหา ส่วนสรุปความ
การเขียนเนื้อหาหนังสือเรียน การเลือกแนวเขียน – ความเรียง องค์ประกอบที่ทำให้การเขียนมีลักษณะดี การเลือกใช้คำ ประโยค ข้อความ
การเขียนเนื้อหาหนังสือเรียน ลักษณะการเขียนเนื้อหาที่ดี 3.1 มีเอกภาพในการเสนอเนื้อหา 3.2 มีสัมพันธภาพในการจัดลำดับ ความของเนื้อหา 3.3 มีความกระชับรัดกุมในการ ใช้ภาษา
การเขียนเนื้อหาหนังสือเรียน ลักษณะการเขียนเนื้อหาที่ดี 3.4 มีความแจ่มแจ้งชัดเจนในเนื้อหา 3.5 มีการเน้นเนื้อหาที่สำคัญ 3.6 มีความยาวพอเหมาะในแต่ละบท
ข้อเสนอแนะ คุณสมบัติผู้เขียนหนังสือเรียน / อ่านให้มาก คุณสมบัติผู้เขียนหนังสือเรียน / อ่านให้มาก กำหนดเวลาเขียนให้แน่นอน อ่านทบทวน
ข้อระมัดระวัง มีความยาวเกินไป ภาษาไม่กระชับ ไม่ใช้เครื่องเสริมการอ่าน ข้อมูลไม่ถูกต้อง
ข้อระมัดระวัง คำอธิบายไม่ชัดเจน ไม่มีความสม่ำเสมอคงที่ในการใช้คำศัพท์วิชาการ โวหารและภาษาสำนวนยาก ภาพประกอบไม่ดี
THE END