ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

สมาชิกกลุ่ม 1. คุณกรองแก้ว ศุภวัฒน์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. คุณศิริมา ปัทมดิลก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
Law on Natural Resource Management
ระบบผลิตผลงาน วิชาการ ห้องปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรม ระบบสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา.
การพัฒนาโครงการวิจัย vs การจำแนกประเภทงานวิจัย
กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับรองกิจการบริการด้านการจัดการพลังงาน (Energy.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ความก้าวหน้าเทคโนโลยีของไทย
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางDNAและมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กรณีความเสี่ยง DMSc.
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงาน การพัฒนาและเชื่อมโยงเครือข่าย และข้อมูลที่ต้องการ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
นางสาวศิรินทิพย์ อินทรภาษิต
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นายอิศรพันธ์ กาญจนเรขา นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ร่วมรังสรรค์นวัตกรรม รามคำแหง – สนช.
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 62/2555 เรื่อง การรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหาร จัดการความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย แนวทางปฏิบัติสำหรับการวิจัยและทดลอง ทางพันธุวิศวกรรมในห้องปฏิบัติการ โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา มีงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) หรือ เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (Modern Biotechnology) เพื่อผลิตหรือปรับปรุงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต เช่น พืช จุลินทรีย์ จำนวนมากที่ดำเนินการในระดับห้องปฏิบัติการของสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัย และหน่วยงานวิจัยของภาคเอกชน ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งผลงานวิจัยที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรมบางชนิดได้ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางไม่ว่าจะเป็น ด้านการแพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม เป็นต้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและลดความเสี่ยงหรืออันตรายต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ในระดับนานาชาติ หลายประเทศได้จัดทำกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพสำหรับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพันธุวิศวกรรม สำหรับประเทศไทย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้จัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ สำหรับการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือพันธุวิศวกรรมขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ระบุกระบวนการในการขออนุมัติดำเนินการวิจัยและทดลองที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรม เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้วิจัยและคณะได้ดำเนินการทดลองอย่างปลอดภัยจากความเสี่ยง และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และสุขอนามัยของมนุษย์ เพื่อให้ทราบถึงการจัดลำดับประเภทของงานวิจัยและทดลองเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ตามระดับความเสี่ยงอันตราย องค์กรหรือหน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สิ้นสุดโครงการ คณะกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสถาบัน (Institutional Biosafety Committee – IBC) หัวหน้าโครงการวิจัย ประเมินประเภทของงาน ประเภทที่ 1 (BL1) ประเภทที่ 2 (BL1-2) ประเภทที่ 3 (BL3-4) ดำเนินการ คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (NBC) แหล่งทุน รายงานความก้าวหน้าปีละ 1 ครั้ง ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย ทางพันธุวิศวกรรม คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เป็นองค์กรหลักที่มีหน้าที่จัดทำมาตรการสำหรับการควบคุมซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และ/หรือให้คำปรึกษา ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม เพื่อป้องกันมิให้การศึกษาและทดลองก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของสาธารณชนโดยทั่วไป รวมถึงเป็นผู้พิจารณาอนุมัติโครงการวิจัยที่จัดอยู่ในประเภทที่ 3 คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสถาบัน เป็นองค์กรภายในแต่ละหน่วยงาน/สถาบันทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีงานวิจัยหรือทดลองเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลง พันธุกรรมทำหน้าที่สนับสนุนโครงการวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม และพิจารณา ตรวจสอบ ประเมินโครงการ รวมถึงให้คำแนะนำแก่ผู้วิจัย เพื่อให้เกิด ความคล่องตัวในการดำเนินงาน หัวหน้าโครงการวิจัย เป็นบุคคลที่จะต้องจำแนกประเภทของงานวิจัยว่าอยู่ในประเภทใดใน 3 ประเภท และนำเสนอโครงการวิจัยต่อคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสถาบันเพื่อขออนุมัติดำเนินการ ก่อนดำเนินการขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากแหล่งทุน นอกจากนี้จะต้องทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานวิจัยให้ถูกต้อง และเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติฯ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อ สาธารณชนและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก แหล่งทุน/ผู้ให้ทุน เป็นองค์กรที่ให้การสนับสนุนทุนวิจัย ทั้งที่เป็นแหล่งทุนภายในประเทศ และนอกประเทศ ในกรณีที่ผู้วิจัยไม่ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติฯ ผู้ให้ทุนอาจระงับการให้ทุนอุดหนุน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6703 E-mail: biosafety@biotec.or.th URL: http://biosafety.biotec.or.th