ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
Advertisements

การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจ ระบบการควบคุมคุณภาพ ในระดับงานสอบบัญชี (engagement level) 5 มกราคม 2555.
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
Why should they feel interested? How we get involved?
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การจัดส่งข้อมูลตราสารหนี้ โดยช่องทาง Internet หรือ DMS DA (Extranet)
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ทำไมผู้บริหารจึงไม่ให้ความสำคัญกับ โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การรับรองหลักสูตร การรับรองค่าใช้จ่าย
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
E-Sarabun.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
การลงข้อมูลแผนการสอน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
Commission Commission on Higher Education Quality Assessment online system CHEQA Updated July 25, 2013
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี The World Bank ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี 5 มกราคม 2555 Grand Milliniem Hotel

ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจ ระบบการควบคุมคุณภาพ ในระดับสำนักงาน (firm level) ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจ ระบบการควบคุมคุณภาพ ในระดับงานสอบบัญชี (engagement level)

ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจ ระบบการควบคุมคุณภาพ ในระดับสำนักงาน (firm level) 5 มกราคม 2555

agenda แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของ สำนักงานสอบบัญชี แนวทางการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของ สำนักงานสอบบัญชี ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของ สำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี

แนวทางการประเมินระบบ การควบคุมคุณภาพของ สำนักงานสอบบัญชี แนวทางการประเมินระบบ การควบคุมคุณภาพของ สำนักงานสอบบัญชี

1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี สำนักงานใช้ระบบ Risk Based Approach ในการประเมินสำนักงานสอบบัญชี โดยมีปัจจัยพิจารณา 2 ปัจจัย 1. Impact to Capital Market (market cap รวมของ listed companies ของ แต่ละสำนักงานสอบบัญชี) 2. Compliance with ISQC 1 2.1 Policies and Procedures 2.2 Practices

1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี Impact to Capital Market Market cap. (ล้านบาท) Impact > < - 5,000 (0.1%) low 5,000 50,000 (1%) moderate low 50,000 250,000 (5%) moderate high 250,000 high

1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี 2. Compliance ISQC 1 (6 elements) LEVEL OF COMPLIANCE WITH ISQC1 5 ไม่ผ่าน ไม่มีนโยบาย/ไม่มีการปฏิบัติตาม 4 ต้องปรับปรุง มีข้อบกพร่องที่มีสาระสำคัญ 3 ยอมรับได้ มีข้อสังเกตที่ไม่กระทบต่อการควบคุมคุณภาพโดยรวม 2 ดี มีข้อสังเกตเพียงเล็กน้อย 1 ดีมาก ไม่มีข้อสังเกต

1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี การให้น้ำหนักแต่ละ ISQC 1 elements ELEMENT WEIGHT (%) 1 Leadership responsibility 20 2 Relevant ethical requirements 3 Acceptance and continuance of client relationship 15 4 Human resources 5 Engagement performance 6 Monitoring Total 100

1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี การให้คะแนน compliance ภาพรวม คะแนนเฉลี่ย คะแนนรวม คำอธิบาย เฉลี่ย 4.0 ขึ้นไป หรือ มี element ใดได้ 5 5 ไม่ผ่าน ต้องปรับปรุง เฉลี่ย 3.5 - 4.0 4 ผ่าน แต่ต้องปรับปรุง เฉลี่ย 2.5 - 3.5 3 ผ่าน ระดับยอมรับได้ เฉลี่ย 1.5 – 2.5 2 ผ่าน ระดับดี เฉลี่ยน้อยกว่า 1.5 1 ผ่าน ระดับดีมาก

1. แนวทางการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี Risk Based Approach เพื่อพิจารณาเข้าตรวจในรอบถัดไป H H1 H2 H3 H4 MH MH1 MH2 MH3 MH4 ML ML1 ML2 ML3 ML4 L L1 L2 L3 L4 1 Very Good 2 Good 3 Acceptable 4 Need improvement QAQR Assessment Every year With in 2 years With in 3 years Priority on high impact + not comply RBA นี้จะเริ่มใช้ตั้งแต่ 1 ม.ค. 56 (Second Cycle)

2. ผลการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี ในภาพรวม 2. ผลการประเมินระบบการควบคุม คุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี ในภาพรวม

2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม จำนวน Big 4 4 Other international firms 3 Local firms 8 รวมสำนักงานที่ตรวจแล้ว 15 สำนักงานที่ยังไม่ตรวจ 12 รวมทั้งหมด 27

2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม

2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม

2. ผลการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชีในภาพรวม ผลจากการตรวจสอบเมื่อนำมาเข้าตาราง RBA แสดงผลความถี่ในการตรวจสอบรอบถัดไปดังนี้ QAQR Assessment Every year With in 2 years With in 3 years

3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบระบบการควบคุมคุณภาพของ สำนักงานสอบบัญชี

1. Leadership responsibility หัวหน้าสำนักงานไม่ได้กำหนดนโยบาย หรือสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพของงาน เหนือกว่าธุรกิจ เช่น การประเมินผลยังให้ความสำคัญ เรื่องการรักษา recovery rate หรือ จากการสัมภาษณ์พนักงานระดับสูงยังพบว่า ไม่กล้า charge time sheet ตามจริง Ref : ISQC 1 Para 18

2. Ethical requirement Ref : ISQC 1 Para 21 - 23 ไม่มีการบันทึกการสอบถามข้อมูล non-audit service กับบริษัทในเครือ จึงไม่สามารถสอบทานได้ว่าได้พิจารณา conflict of interest แล้ว อนุญาตให้พนักงานรับงานสอบบัญชีในนามส่วนตัวได้ โดยไม่พบการสอบทาน conflict of interest ที่อาจเกิดจากการรับงานส่วนตัวดังกล่าว และไม่มีการตรวจสอบว่า พนักงานปฏิบัติตามข้อกำหนดของสำนักงาน และยังคงทำงานให้สำนักงานอย่างมีคุณภาพหรือไม่ Ref : ISQC 1 Para 21 - 23

2. Ethical requirement ไม่มีการกำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อขจัด ความไม่เป็นอิสระกรณีรับงานสอบบัญชี ของลูกค้ารายเดิมติดต่อกันหลายปี (กรณีบริษัทจำกัด) Ref : ISQC 1 Para 25

3. Client acceptance and continuance การพิจารณากำหนดค่า audit fee ในขั้นตอนการรับงานไม่เหมาะสม เช่น ไม่พิจารณา budget hour และ actual hour ปีก่อน หรือให้น้ำหนักกับค่าสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี คนก่อนมากกว่าการคำนึงถึงปริมาณงาน ที่ต้องทำเพื่อให้มีคุณภาพ Ref: ISQC 1 Para 26 (a)

3. Client acceptance and continuance การจัดทำเอกสารบันทึกการประเมินความเสี่ยงที่สำคัญไม่ชัดเจนเพียงพอ เช่น ใช้ดุลยพินิจกำหนดขั้นความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยงไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่พบ ไม่บันทึกรายละเอียดในการประเมินและการจัดการกับความเสี่ยง หรือใช้ดุลยพินิจปรับลดความเสี่ยงลงได้ และตัดสินใจรับงานได้ก่อนที่จะได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ จึงอาจทำให้รับงานที่มีความเสี่ยงสูงเกินกว่าระดับที่กำหนด Ref: ISQC 1 Para 27

3. Client acceptance and continuance ออก engagement letter ก่อนที่จะมีการส่งจดหมายไปที่ผู้สอบบัญชีเดิม (มีปัญหาในทางปฏิบัติที่ผู้สอบบัญชีคนก่อนไม่ให้ความร่วมมือ) Ref: ISQC 1 Para 27 (a) ไม่ให้ความสำคัญในการตรวจสอบเรื่องความเสี่ยงต่าง ๆ ของลูกค้า รวมถึง การประเมิน ความเป็นอิสระของพนักงานในการรับงานต่อเนื่อง Ref: ISQC 1 Para 27

3. Client acceptance and continuance ไม่มีแนวปฏิบัติในกรณีที่ตอบรับงานที่มี ความเสี่ยงสูงกว่าปกติ หรือ ให้ผู้ที่มีอำนาจสูงกว่าอนุมัติ และพบว่ามีบริษัทที่ผลประเมิน ความเสี่ยงได้ระดับสูงกว่าปกติ แต่ไม่พบ การบันทึกเหตุผลในการรับงานสอบบัญชี Ref: ISQC 1 Para 27 (c)

4. Human resource ไม่มีข้อกำหนดให้พนักงานต้องลงเวลาการทำงาน ส่งผลให้ไม่มีข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประกอบการจัดสรรทรัพยากรบุคคลต่อไปในอนาคต Ref : ISQC 1, Para 29, 31

4. Human resource ไม่กำหนดปัจจัยและเกณฑ์การวัดผลที่ใช้ ในการประเมินผลพนักงานและ แจ้งให้พนักงานรับทราบ ไม่พบ KPI เกี่ยวกับเรื่องคุณภาพงาน หรือ ให้น้ำหนักกับปัจจัยด้านคุณภาพน้อย และ ไม่นำข้อบกพร่องด้านคุณภาพงาน จากการทำ monitoring มาใช้ ในการประเมินผลงานประจำปี Ref : ISQC 1, Para 29, 31

5. Engagement performance ไม่มี audit manual มีแต่ audit program ทำให้การทำงานของทีมตรวจสอบไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน Manual และ audit program ที่ใช้ยังไม่เพียงพอ/ไม่เหมาะสม เช่น ไม่มีแนวทางการกำหนดขอบเขตการตรวจสอบ ไม่กำหนดวิธีการคำนวณ materiality ในสถานการณ์ต่างๆ ขาด audit program ในการตรวจสอบบางเรื่อง ผลของ การประเมินความเสี่ยงจากระบบการควบคุมภายใน ไม่สัมพันธ์กับขอบเขตในการตรวจสอบเนื้อหาสาระ Ref: ISQC 1 Para 32

5. Engagement performance ไม่ปรับปรุงคู่มือ แนวการสอบบัญชี หรือ disclosure checklist ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และขาดการ update อย่างสม่ำเสมอ Ref: ISQC 1 Para 32

5. Engagement performance การสอบทานงานโดย engagement/signing partner และการปรึกษาหารือ ยังไม่เพียงพอ การปรึกษาหารือไม่เพียงพอและเหมาะสม เช่น ไม่พบการบันทึกข้อสรุปและความเห็นใน รายงาน การประชุมหารือระหว่างทีมตรวจสอบ กับ technical committee ในกระดาษทำการ Ref: ISQC 1 Para 32-34

5. Engagement performance Engagement partner และ EQCR ไม่มีเวลาเพียงพอ (low involvement) หรือ EQCR ไม่ลงลายมือชื่อในกระดาษทำการที่สำคัญ Ref : ISQC 1 Para 36 ไม่มีการประเมินความรู้ความสามารถของ engagement Partner EQCR และผู้เชี่ยวชาญที่มีส่วนร่วมใน engagement Ref : ISQC 1 Para 32, 34, 35, 36, 37, 39

6. Monitoring monitoring ในระดับ firm level ยังไม่ครบทุกองค์ประกอบตาม ISQC1 เช่น global firm จะทำ monitoring ปีละ 2 เรื่อง หมุนเวียนไป แนวปฏิบัติของ monitoring ในระดับ firm ยังไม่ได้ระบุวิธีการทดสอบในเรื่องที่สำคัญบางเรื่อง เกณฑ์ในการเลือกงานสอบบัญชี (engagement level) เพื่อติดตามผลยังไม่ครอบคลุมความเสี่ยงที่สำคัญ หรือขอบเขตและวิธีการเลือก engagement ไม่มีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม Ref : ISQC 1, Para 48

6. Monitoring ไม่มีการจัดทำกระดาษทำการประกอบแบบสอบถามการติดตามผล หรือบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อสังเกตที่พบ และ feedback Ref: ISQC 1, Para 49-53 and 57