การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY) ผศ. ลักขณา เติมศิริกุลชัย ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
NEW VS. TRADITIONAL PUBLIC H. APP
NEW VS. TRADITIONAL PUBLIC H. APP
สุขศึกษา - การสร้างเสริมสุขภาพ สุขศึกษา - การสร้างเสริมสุขภาพ สุขศึกษา ผลรวมของประสบการณ์การเรียนรู้ ที่จัดขึ้นเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วยความสมัครใจ อันนำไปสู่การมีสุขภาพดี การสร้างเสริมสุขภาพ - ผลรวมของการสนับสนุนด้านการศึกษาและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการปฏิบัติและเกิดสภาพการดำเนินชีวิตที่นำไปสู่การมีสุขภาพ
“การสร้างเสริมสุขภาพ” (Ottawa Charter ,1986) กระบวนการสนับสนุนให้ ประชาชนสามารถควบคุมพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน มีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี
กฎบัตรออตตาวาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ : 1980 ปรับระบบบริการให้เอื้อต่อ การส่งเสริมสุขภาพ 5 พัฒนาทักษะชีวิต 4 เพิ่มศักยภาพของชุมชน 3 สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 2 สร้างนโยบายสาธารณะ 1 Enable Advocacy Mediate
17
Health Promotion Objectives Community Policies Practices Programs Facilities Resources Government Policies/Programs Facilities/Resources Legislation/Ordinances Regulation/Enforcement Individual Knowledge Attitudes Behaviors Physiology Organization Policies Practices Programs Facilities Resources
ADVOCACY FOR HEALTH ผลรวมของการดำเนินงานที่กำหนดขึ้นโดยบุคคล/กลุ่มเพื่อสร้าง POLITICAL COMMITMENT POLICY SUPPORT SYSTEM SUPPORT SOCIAL ACCEPTANCE เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมายของการชี้แนะสาธารณะ 1°Target ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ 2°Target กลุ่มที่ช่วยกดดันผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ : NGOs, สื่อ 3°Target ประชาชน / สื่อ
MEDIA ADVOCACY VS. PUBLIC HEALTH
MEDIA ADVOCACY VS. PUBLIC HEALTH