พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ขั้นตอนง่าย ๆ ในการเข้าใช้บริการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การวางแผนและการดำเนินงาน
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
Geographic Information System
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participant Information Sheet) โดย นางนวี เอกศักดิ์ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล (Layperson)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน พิมพ์ชื่อผลงาน พิมพ์ประเภทของผลงานซึ่งมี 4 ประเภท ดูได้จากเอกสารแนะนำในการส่งผลงานฯ พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน พิมพ์ชื่อผู้เสนอผลงาน พิมพ์ที่อยู่ เบอร์โทร และ email ในการติดต่อ

พิมพ์ชื่อทีมที่นี่และระบุรายชื่อสมาชิก และตำแหน่งงานไว้ด้านล่าง คุณ..................................(ตำแหน่งงาน) (กรณีที่เป็นผลงานดำเนินการคนเดียวไม่ต้องใช้สไลค์แผ่นนี้)

การวิเคราะห์ปัญหา แสดงวิธีการวิเคราะห์ปัญหา เครื่องมือทางด้านการยศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา ตามหลักการด้านการยศาสตร์ แสดงข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวกับปัญหาทางด้านการยศาสตร์ ควรแสดงรูปหรือวีดีโอประกอบการอธิบายจะช่วยให้การนำเสนอปัญหาเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อหนึ่ง

รายละเอียดของงาน ก่อนการปรับปรุง ให้อธิบายของงานทั้งลักษณะเครื่องมือ เครื่องจักร ให้ชัดเจน ระบุตัวเลขต่างๆ ของข้อมูลถ้ามี ให้อธิบายถึงลักษณะ วิธีการใช้งานและวิธีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน ควรแสดงรูปหรือวีดีโอประกอบการอธิบายจะช่วยให้การนำเสนอปัญหาเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อหนึ่ง

รายละเอียดของงาน หลักการปรับปรุง ให้เปรียบเทียบกับข้อมูลก่อนการปรับปรุง ให้อธิบายของงานทั้งลักษณะเครื่องมือ เครื่องจักร ให้ชัดเจน ระบุตัวเลขต่างๆ ของข้อมูลถ้ามี ให้อธิบายถึงลักษณะ วิธีการใช้งานและวิธีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน ควรแสดงรูปหรือวีดีโอประกอบการอธิบายจะช่วยให้การนำเสนอปัญหาเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อหนึ่ง

การแก้ไขปัญหา ให้อธิบายวิธีการที่นำไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างละเอียด ควรใช้รูปหรือวิดีโอมาช่วยประกอบการอธิบายเพื่อให้การนำเสนอชัดเจน มากขึ้นซึ่งเป็นหนึ่งเกณฑ์ของการประเมิน การแก้ปัญหาอาจทำได้ทั้งในลักษณะการจัดการ เช่น เปลี่ยนวิธีการทำงานใหม่ หรือ ใช้หลักการวิศวกรร ในการประดิษฐ์เครื่องไม้เครื่องมือมาช่วยในการทำงาน หรือ เป็นการปรับเครื่องมือเครื่องจักรที่มีอยู่เดิมให้ใช้งานได้ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ ควรจะมีวิธีการในการวัด รวบรวม และประเมินปัญหาต่างๆ ได้เป็นระดับคะแนนหรือตัวเลขที่ใช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นว่าปัญหาดังกล่าวมีระดับลดลงหลังการปรับปรุง

ผลลัพธ์ที่ได้จากการแก้ปัญหา ให้อธิบายผลลัพธ์ที่ไดจากการแก้ปัญหา ผลลัพธ์ที่ได้ควรมีการระบุค่าที่วัดเป็นตัวเลขได้ชัดเจน เช่นวัดเป็นคะแนนจำนวนเงิน เวลา ปริมาณ เป็นต้น ตัวอย่างผลลัพธ์จากการควรจะประกอบด้วย จำนวนการบาดเจ็บ หรือความเมื่อยล้าที่ลดลง ความพึงพอใจของพนักงานที่สูงขึ้น จำนวนค่ารักษาพยาบาล จำนวนวันขาดงานเนื่องจากบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยลดลง เป็นต้น ระดับของความเสี่ยงต่างๆ ลดลง จำนวนความผิดพลาดในการทำงานที่ลดลง คุณภาพของงานดีขึ้น ความสะดวกสบายในการทำงาน เวลาในการทำงานเร็วขึ้น เนื่องจากลดระยะการเคลื่อนไหว ทำให้คล่องตัว ผลผลิตมากขึ้นเนื่องจากเปลี่ยนวิธีการทำงาน มีเครื่องมือมาช่วย เป็นต้น

ข้อส่งสัยในการเตีรยมเอกสาร หากท่านมีข้อสงสัยใดในการจัดเตรียมการเสนอผลงานสามารถสอบถามได้ที่ สมาคมการยศาสตร์ไทย Email: ergo@est.or.th www.est.or.th

ตัวอย่างของการดำเนินงาน เพื่อส่งผลงานประเภททีม

ชื่อโครงการหรือกิจกรรม :_____________________________________________________ ชื่อหัวหน้าทีม :___________________________ตำแหน่งงาน__________________ รายชื่อสมาชิกของทีมงานที่อยู่ในสถานีงานหรือเป็นผู้ปฏิบัติงานนั้น: ______________________________ ตำแหน่งงาน__________________ ______________________________ ตำแหน่งงาน___________________ รายชื่อสมาชิกของทีมงานที่มาจากทีมงานด้านการยศาสตร์ : วันที่เสร็จ :__________________________________________________ หมายเหตุ:__________________________________________________

บันทึกการปรับปรุงงานด้วยวิธีการไคเซ็น ก่อนทำการปรับปรุง หลังทำการปรับปรุง พื้นที่ปฏิบัติงาน: รายละเอียดของปัญหา: สื่งที่ได้ดำเนินการ: ผลลัพธ์จากการดำเนินการ: ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ วางภาพ หรืออธิบายรายละเอียด ก่อนทำการปรับปรุงบริเวณนี้ วางภาพ หรืออธิบายรายละเอียด หลังทำการปรับปรุงบริเวณนี้

ขั้นตอนในการดำเนินงาน ตัวอย่างคำถามเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน ถาม อะไรคือปัญหาที่ต้องการจะทำการปรับปรุงหรือแก้ไข? ตอบ ถาม มีการวัดปัญหาทางด้านการยศาสตร์ด้วยข้อมูลทางสถิติ หรือเครื่องมือในการประเมินความเสี่ยงอย่างไร? ถาม ผลกระทบของปัญหาที่มีต่อสุขภาพของพนักงานเป็นอย่างไร ถาม ผลกระทบของปัญหาที่มีต่อคุณภาพในการทำงานเป็นอย่างไร ถาม ผลกระทบของปัญหาที่มีต่อประสิทธิภาพในการทำงานเป็นอย่างไร ถาม มีปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งผลต่อปัญหาทางด้านการยศาสตร์มีอะไรบ้าง ถาม ปัจจัยใดที่เป็นปัจจัยหลักของปัญหาที่ต้องการจะแก้ไข? ถาม ได้ดำเนินการอะไรเพื่อปรับปรุงหรือแก้ไขปัจจัยหลักของปัญหา? ถาม สภาพหรือสถานะหลังการปรับปรุงในเชิงสถิติหรือตัวเลขเป็นอย่างไร? ถาม ผลลัพธ์ที่ได้จากการแก้ปัญหามีอะไรบ้าง ? ถาม ได้ดำเนินการอะไรเพื่อไม่ให้ปัญหาเกิดซ้ำอีกในอนาคต? หมายเหตุ ให้พิจารณาข้อมูลต่างๆ ที่เป็นตัวเลขไว้ในเอกสารหน้าถัดไป Define การนิยามปัญหา Measurement การวัดสถานะปัจจุบัน Analyze การวิเคราะห์ปัญหา Improve การปรับปรุงปัญหา Control การควบคุมปัญหา

หมายเหตุ : สำหรับตัวชี้วัดใดที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการปรับปรุงกรุณาใส่ N/A หรือ ไม่ได้ทำการพิจารณา : สามารถปรับแต่งหรือเพิ่มเติมตัวชี้วัดได้ตามความเหมาะสมของกิจกรรมที่ได้ดำเนินการปรับปรุง