สถาบันการเงิน
ประเภทของสถาบันการเงิน บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม ธนาคารกลาง ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารพิเศษ ธนาคาร บริษัทเงินทุน บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม โรงรับจำนำ ไม่ใช่ธนาคาร
ธนาคารกลางแห่งประเทศไทย เรียกว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย ภาษาอังกฤษว่า Bank of Thailand ประวัติความเป็นมา พ.ศ. 2483 มีการจัดตั้งสำนักงานธนาคารชาติไทย แต่ยังไม่สมบูรณ์ พ.ศ. 2485 จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยตาม พระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดดำเนินการ 10 ธันวาคม 2585 (สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม)
ลักษณะสำคัญ เป็นสถาบันการเงินสูงสุดของประเทศ เป็นธนาคารของรัฐบาลก็จริง แต่ดำเนินงาน อย่างเป็นอิสระจากรัฐบาล เพราะเพียงอยู่ใต้การ กำกับจากรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง การดำเนินงานเพื่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การเงินของประเทศ
ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานของรัฐบาล กระทรวง รัฐวิสาหกิจ ธนาคารพาณิชย์เป็นสถาบัน การเงินสูงสุดของประเทศ สำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเทพมหานคร สำนักงานสาขาในภูมิภาคที่ จ. ลำปาง จ. ขอนแก่น และหาดใหญ่ จ. สงขลา
ผลิตธนบัตรและออกธนบัตร หน้าที่ ผลิตธนบัตรและออกธนบัตร หน้าที่ในการผลิตธนบัตร เป็นของธนาคารกลาง แต่หน้าที่ในการผลิตเหรียญกษาปณ์ เป็นของกองกษาปณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ควบคุมปริมาณเงินทุนหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ รักษาเงินเก็บของประเทศชาติเรียกว่า ทุนสำรองระหว่างประเทศ
เป็นนายธนาคาร ของธนาคารพาณิชย์ โดยที่ ธนาคารพาณิชย์ต้องฝากเงินจำนวนหนึ่งให้กับ ธนาคารกลาง เรียกว่า เงินสดสำรองธนาคารพาณิชย์ หากธนาคารพาณิชย์ไม่มีเงินทุนหมุนเวียน สามารถกู้ ยืมเงินจากธนาคารกลางได้ ตรวจสอบกิจการของธนาคารพาณิชย์
เป็นนายธนาคารของรัฐบาล รับฝากเงินและให้เงินกู้แก่หน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ เป็นตัวแทนของประเทศในการจัดการทางการเงินให้รัฐบาล เป็นตัวแทนรัฐบาลติดต่อกับองค์กรทางการเงิน ระหว่างประเทศ
ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า