การเปลี่ยนแปลงทางสังคม รายวิชา ส 33108 สังคมศึกษา 5 มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ผู้สอน นางรวีวรรณ กาปา
ความหมายการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของระบบความสัมพันธ์ขององค์การทางสังคม โดยให้ความสำคัญกับขนาดขององค์การสังคม ประเภทขององค์การสังคม ลักษณะขององค์การทางสังคม รวมทั้งสถานภาพและบทบาท
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ปัจจัยภายใน คือ สิ่งต่างๆที่อยู่ภายในสังคมซึ่งเป็นปัจจัย และสาเหตุที่ทำให้เกิดกรเปลี่ยนแปลง ได้แก่ 1) ปัจจัยทางธรรมชาติ 2) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
3) ปัจจัยทางสังคม 4) ปัจจัยทางวัฒนธรรม
อาจมีไม่มากนัก แต่มีความสำคัญ ได้แก่ 2.2 ปัจจัยภายนอก อาจมีไม่มากนัก แต่มีความสำคัญ ได้แก่ 1) สถานการณ์ปกติ 2) สถานการณ์ไม่ปกติ
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของสังคม มีดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 2. การติดต่อสื่อสาร 3. ทัศนคติและค่านิยม 4. การศึกษา 5. การค้นคิดประดิษฐ์
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยด้านต่างๆ สามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. ด้านเศรษฐกิจ 3. ด้านวัฒนธรรม 2. ด้านสังคม
ค่านิยมในสังคมไทย ค่านิยมของสังคมคือ สิ่งที่มีคนในสังคมไทยสนใจ ปรารถนาที่จะเป็นเหมือนผู้อื่น เป็นสิ่งที่ทุกคนถือปฏิบัติ ค่านิยมบางอย่างขึ้นอยู่กับลักษณะของสังคม สภาพแวดล้อมของสังคม สภาพการเปลี่ยนแปลง โดยมีค่านิยมใหม่มาทดแทนอยู่ตลอเวลา ไม่มีที่สิ้นสุด
“แตกต่าง ต่างกันแค่ไหน” กิจกรรม “แตกต่าง ต่างกันแค่ไหน”
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
“หากสังคมมีการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะไปในทางที่ดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสิ่งใด ?” สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นและลดลงของประชากร และการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ
สวัสดีค่ะ