หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น 2.1 เม็ดเลือดแดงของคน 2.2 สัตว์ เช่น ไฮดรา
แพร่ O2 เข้า และ ขับ CO2 ออกทาง เยื่อหุ้มเซลล์ Ameba paramecium แพร่ O2 เข้า และ ขับ CO2 ออกทาง เยื่อหุ้มเซลล์
เซลล์สัตว์
เยื่อหุ้มเซลล์
เซนทริโอล
นิวเคลียส
เยื่อหุ้มนิวเคลียส
โครโมโซม
DNA
โครโมโซมเพศชาย
ไมโตคอนเดรีย
ไรโบโซม
เอ็นโดพลาสมิก เรติคิวลัม ER (RER) (SER)
กอนจิบอดี
การทำงาน
ไลโซโซม
การทำงาน
เซลล์พืช
คลอโรพลาสต์
ผนังเซลล์
แวคิวโอล
เปรียบเทียบระหว่างเซลล์สัตว์และเซลล์พืช
การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้จำเป็นต้องได้รับอาหารและออกซิเจนจากภายนอกเซลล์และต้องกำจัดสารหรือของเสียออกจากเซลล์ ก่อนจะศึกษาการเคลื่อนที่ของสารต่าง ๆ เข้าและออกจากเซลล์มาศึกษาก่อนว่า อนุภาคของสารเคลื่อนที่ได้อย่างไร (การเคลื่อนที่ของหยดหมึก)
การแพร่ ตัวทำละลาย ตัวละลาย การเคลื่อนที่ของอนุภาค ของสารจากบริเวณที่มี ความเข้มข้นของอนุภาค ของสารมากไปสู่บริเวณที่ มีความเข้มข้นของ อนุภาคของสารน้อยกว่า
ออสโมซีส กระบวนการแพร่ของ น้ำจากบริเวณที่มี อนุภาคของน้ำมากไป สู่บริเวณที่มีอนุภาค ของน้ำน้อยกว่า ผ่าน เยื่อเลือกผ่าน ออสโมซีส
เปรียบเทียบการแพร่และการออสโมซีส การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคของสารมากไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคของสารน้อยกว่า กระบวนการแพร่ของน้ำจากบริเวณที่มีอนุภาคของน้ำมากไป สู่บริเวณที่มีอนุภาคของน้ำน้อยกว่า ผ่านเยื่อเลือกผ่าน
การออสโมซีสของเม็ดเลือดแดง Hypertonic solution ความเข้มข้น ของสาร สูง(น้ำน้อย) ความเข้มข้น ของสาร ต่ำ(น้ำมาก)
การออสโมซีสของเม็ดเลือดแดง Hyp0tonic solution ความเข้มข้น ของสาร ต่ำ(น้ำมาก) ความเข้มข้น ของสาร สูง(น้ำน้อย)
การออสโมซีสของเม็ดเลือดแดง Isotonic solution ความเข้มข้น ของสาร เท่ากัน ความเข้มข้น ของสาร เท่ากัน
สารละลายที่เป็นไอโซทอนิกกับเซลล์เม็ดเลือดแดงคือน้ำเกลือ0.85 %
ตัวอย่างการออสโมซีส เรียกปรากฏการณ์ที่ทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงแตกว่า haemolysis
Plasmoplysis plasmolysis
ตัวอย่างการออสโมซีส
การออสโมซีสในใบพืช