ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว
ENVIRONMENTAL SCIENCE
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
บรรยากาศ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
ของส่วนประกอบของเซลล์
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
หินแปร (Metamorphic rocks)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
สบู่สมุนไพร.
รูปร่างและรูปทรง.
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
ปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการใช้น้ำของพืช
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
หนังสือ หลักกสิกรรมหน้า 43-60
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปแอฟริกา
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
นายปรีชานันท์ อุปละ ม.4/5 เลขที่ 11
ปิโตรเลียม.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
น้ำ.
หญ้าแฝกพืชมหัศจรรย์ นำเสนอโดย กลุ่มสัตว์ปีก.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา ดินน่ารู้ ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายองค์ประกอบของดินได้ 2. จำแนกประเภทของดินได้ 3. บอกประโยชน์ของดินได้

ดิน ดิน เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ให้ประโยชน์และมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ สัตว์ และพืช เพราะสิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนต้องอาศัยอยู่บนดิน ดินแต่ละแหล่งมีลักษณะแตกต่างกัน

ส่วนประกอบของดิน ดิน มีส่วนประกอบของซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังทับถมกันอยู่ เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ ซากแมลง ซากสัตว์ที่ตาย ก๊าซออกซิเจน แร่ธาตุต่างๆ กรวด ทราย และน้ำในสัดส่วนที่ต่างกัน จึงเป็นสาเหตุให้ดินแต่ละแหล่งมีสมบัติที่แตกต่างกัน

ส่วนประกอบของดิน ภาพแสดง ส่วนประกอบของดิน ที่มา :http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Soil_Rock.htm

สมบัติของดิน ดินเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เกิดจากหินและแร่ที่แตกหักสลายตัวด้วยกระบวนการผุพังรวมกับซากพืชซากสัตว์ น้ำ และอากาศ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ดินแต่ละแห่งจะมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปริมาณส่วนประกอบของดิน ทำให้ดินมีเนื้อดิน สีของดิน และปริมาณแร่ธาตุแตกต่างกัน

ชั้นของดิน ภาพแสดง ชั้นของดิน ที่มา : http://mordin.ldd.go.th/nana/web-ldd/soil/page01.htm

ดินเหนียว(Clay) เป็นดินที่มีเนื้อละเอียด ในสภาพดินแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกน้ำแล้วจะมีความยืดหยุ่น สามารถปั้นเป็นก้อนหรือคลึงเป็นเส้นยาวได้ เหนียวเหนอะหนะติดมือ เป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศไม่ดี แต่สามารถอุ้มน้ำ ดูดยึด และแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชได้ดี เหมาะที่จะใช้ทำนาปลูกข้าวเพราะเก็บน้ำได้นาน

ดินเหนียว(Clay) ภาพแสดง ลักษณะดินเหนียว ที่มา : http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.html

ดินร่วน (Loam) เป็นดินที่เนื้อดินค่อนข้าง ละเอียดนุ่มมือในสภาพดินแห้งจะจับกันเป็นก้อนแข็งพอประมาณ ในสภาพดินชื้นจะยืดหยุ่นได้บ้าง เมื่อสัมผัสหรือคลึงดินจะรู้สึกนุ่มมือแต่อาจจะรู้สึกสากมืออยู่บ้างเล็ก น้อย เมื่อกำดินให้แน่นในฝ่ามือแล้วคลายมือออก ดินจะจับกันเป็นก้อนไม่แตกออกจากกัน เป็นดินที่มีการระบายน้ำได้ดีปานกลาง จัดเป็นเนื้อดินที่มีความเหมาะสมสำหรับการเพาะปลูก

ดินร่วน (Loam) ภาพแสดง ลักษณะดินร่วน ที่มา : http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.html 

ดินทราย (Sand) เป็นดินที่มีอนุภาคขนาดทราย เป็นองค์ประกอบอยู่มากกว่าร้อยละ 85 เนื้อดินมีการเกาะตัวกันหลวมๆ มองเห็นเป็นเม็ดเดี่ยวๆ ได้ ถ้าสัมผัสดินที่อยู่ในสภาพแห้งจะรู้สึกสากมือ ดินทราย เป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศดีมาก แต่มีความสามารถในการอุ้มน้ำต่ำ มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำเพราะความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารพืชมีน้อย พืชที่ขึ้นบนดินทรายจึงมักขาดทั้งธาตุอาหารและน้ำ

ดินทราย (Sand) ภาพแสดง ลักษณะดินทราย ที่มา : http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.html 

ประโยชน์ของดิน 1. นำมาใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูก 2. เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น เครื่องปั้นดินเผาต่างๆ 3. เป็นแหล่งกักเก็บน้ำ 4. เป็นแหล่งอาหารของจุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่ย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ให้กลายเป็นฮิวมัส ซึ่งเป็นแหล่งอาหารของพืช

เอกสารอ้างอิง http ://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Soil_Rock.htm http://www.myfirstbrain.com http://mordin.ldd.go.th/nana/web-ldd/soil/page01.htm http://pirun.ku.ac.th/~b5310703306/p4.html  พื้นหลัง PPT : มหาวิทยลัยธุรกิจบัณทิตย์

ผู้จัดทำ ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา oui608@hotmail.com