สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2552 ระหว่างวันที่ มกราคม 2552 ( ข้อเสนอแนะ ) 1. ในการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
บริการ ICT ที่เป็นเลิศและเข้าถึงได้
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
สรุปการประชุมระดมความคิด
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
การพัฒนาข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข แผนแม่บทการปรับปรุงและ พัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลังสุขภาพ สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข

วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อพัฒนาระบบบัญชีภาคสุขภาพให้ใช้เป็นมาตรฐาน สำหรับหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ 3.2 เพื่อให้มีดัชนีชี้วัดทางการเงินสำหรับหน่วยงานส่วนกลาง และหน่วยงานภูมิภาคในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่จะใช้ติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการคลังและประเมินประสิทธิภาพของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 3.3 เพื่อพัฒนากลไกระดับเขตและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสาธารณสุข 3.4 เพื่อให้มีฐานข้อมูลด้านการเงินการคลัง สนับสนุนผู้บริหารและหน่วยบริการ 3.5 เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่สนับสนุนให้การดำเนินงานตามแผน ให้มีประสิทธิภาพ

ระบบข้อมูล ปรับปรุงผังบัญชีภาคสุขภาพ ให้เป็นมาตรฐาน และเอื้อต่อการวิเคราะห์และนำไปใช้ กำหนด Financial Standard dataset ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลงบทดลอง ตามผังบัญชี 13 หลัก และเป็น Electronic file ใน Format ที่กำหนด เป้าหมาย ใช้งบทดลองแทนรายงานทางการเงินอื่นๆ (ยกเว้นงานกลุ่มคลัง) ปรับระบบการจัดส่งข้อมูล เน้นการส่งข้อมูลชุดเดียว ไปที่ office เดียว (สพค.) โดยส่งทาง Web site ทุก 3 เดือน

Managerial Accounting กรรมการ Managerial Accounting ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ ข้อมูลจาก Financial Standard dataset รวมถึง Ratio ต่างๆที่เอื้อประโยชน์ต่อการบริหารที่สามารถบ่งชี้ถึงสถานการณ์ทางการเงิน และประสิทธิภาพของสถานบริการ กรรมการ Managerial Accounting ศึกษารูปแบบรายงานบัญชีเกณฑ์คงค้างที่ผู้บริหารหน่วยงานสามารถเข้าใจง่ายขึ้น

ระบบ IT สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข กำหนดให้มี Software ที่สามารถประมวลผลงบดุล งบกำไรขาดทุน เปรียบเทียบรายสถานบริการ รายจังหวัด รายเขต และรายภาค ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถเข้าถึงได้ รวมทั้งสามารถ Download ข้อมูลดิบไปใช้ในการวิเคราะห์ต่างๆได้ ผ่านหน้า Web pages หลัก ของสำนัก สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข ประมวลผลข้อมูลจาก Financial Standard dataset เป็นรายงานตามรูปแบบต่างๆ ที่หน่วยงานส่วนกลางต่างๆ จะนำไปใช้ต่อ เช่น แทน 0110 รง.5 หรือ แปลงข้อมูลเข้าสู่ GFMIS

การพัฒนาบุคลากร ออกหนังสือสั่งการเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ นโยบายบัญชี และผังบัญชีใหม่ ส่งถึงทุกสถานบริการ อบรมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด เพื่อเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ปฏิบัติในจังหวัดทุกจังหวัด ในช่วงต้นปีงบประมาณ อบรมผู้ปฏิบัติในงานบัญชีเกณฑ์คงค้างทุกหน่วยบริการ (บูรณาการกับกลุ่มงานคลัง) อบรมผู้บริหารสถานบริการเกี่ยวกับการอ่านบัญชีเกณฑ์คงค้าง การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ทบทวน CFO ระดับจังหวัด เน้นผู้ปฏิบัติจริง พัฒนากลไกการดำเนินงานของผู้จัดการทรัพยากร(CFO)ระดับเขตและจังหวัดในการบริหารการเงินการคลังร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุข และ สปสช. อบรม CFO ระดับจังหวัด ระดับเขต เรื่องการวิเคราะห์ บัญชีเกณฑ์คงค้างและการนำไปใช้

Monitoring data ความทันเวลา : จังหวัด monitor สถานบริการ ส่วนกลาง Monitor จังหวัด ความถูกต้อง: กำหนดให้มีการตรวจสอบ Audit ปีละครั้ง : เป็น Internal audit (External Audit โดย สตง. เช่นเดิม) สร้างกลไกตรวจสอบไขว้ในระดับเขต โดย ทีม CFO ของแต่ละจังหวัด และมีผู้ตรวจ และ CFO เขต คอยดูแล

การวิเคราะห์ต้นทุน ปี 2550 ทดลองคิดต้นทุน แยก Front และ Back Office และวางแผนศึกษาการคิดต้นทุนแยก งาน PP ปี 2551 ทดลองคิดต้นทุน งานรักษา และงานสร้างสุขภาพ

การพัฒนาระยะยาว วิเคราะห์และปรับปรุงผังบัญชีระดับ สสจ. พัฒนา Software สำหรับ Back office สำหรับสถานบริการ สนับสนุนและส่งเสริมความก้าวหน้าของบุคลากรด้านบัญชี เพิ่มอัตรากำลัง อย่างน้อยควรมี Managerial Accounting จังหวัดละ 1 คน