การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

หลักคิด หลักการ และการปฏิบัติงาน ให้ประสบผลสำเร็จ
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ภาพลักษณ์และกระบวนการสื่อสารภาพลักษณ์
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เศรษฐกิจพอเพียง.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1
การค้ามนุษย์.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
การจัดการศึกษาในชุมชน
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
ความดีเด่นของสถานศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
Participation : Road to Success
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
โครงการ “พัฒนาชุมชนใสสะอาด”
นโยบายด้านบริหาร.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 1. พัฒนาศักยภาพประชาชนในประเทศให้เป็น บุคคลที่มีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองมีนิสัยใฝ่รู้แสวงหาความรู้ตลอดเวลา

2. การพัฒนาเครื่องมือการเรียนรู้ให้แก่ ประชาชน ให้มีความสามารถในการเรียนรู้ ด้วยตนเอง

การพัฒนาความเชื่อมโยงการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 4. เป็นการพัฒนาชุมชนให้มีรากฐานที่ยั่งยืน สามารถ พึ่งพาตนเองได้

5. พัฒนาการมีส่วนร่วมขององค์กร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6.เป็นการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน กับสังคมโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว

บทบาทหน้าที่ของครู กศน. ตำบล กับการจัดและส่งเสริมตลอดชีวิต บทบาทหน้าที่ของครู กศน. ตำบล กับการจัดและส่งเสริมตลอดชีวิต การวางแผน การจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย

3. บริการการเรียนรู้ในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย

4.การสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน

5.การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่งานโครงการ

6.รายงานผลการปฎิบัติงาน

วัฒนธรรมองค์กรคืออะไร

พฤติกรรมที่สร้างขึ้นจากคนในองค์กรโดยมีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และยึดถือปฏิบัติกันมาจนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในองค์กรนั้น ๆ และกลายเป็นค่านิยมร่วมกันในองค์กร

ปัญหาของวัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับการ ทำงาน ปัญหาของวัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับการ ทำงาน

1. องค์กรของเขาดีอยู่แล้วไม่เห็นจะมี ปัญหาที่ตรงไหนเลย 2 1. องค์กรของเขาดีอยู่แล้วไม่เห็นจะมี ปัญหาที่ตรงไหนเลย 2. ไม่สนใจผู้รับบริการ

3. ไม่คิดที่จะพัฒนาการทำงาน หรือบริการใหม่ ๆ ออกมา 4. รอให้ “เบื้องบน” สั่งมาเพียง อย่างเดียว

5. ผู้นำและพนักงานคิดแต่จะทำงานด้าน ปฏิบัติการหรือธุรการเป็นงานหลัก

ผู้นำเสียเวลามากกับการ จ้ำจี้จ้ำไชพนักงานที่ขาดคุณภาพ ไม่มีเวลาไปใส่ ใจกับพนักงานที่ ทำงานดี

ผู้นำไม่สามารถนำการ เปลี่ยนแปลงให้เกิดเป็นรูปธรรม ขึ้นในองค์กรได้

วัฒนธรรมองค์กรที่ดี

1. การสื่อสารอย่างเปิดเผย 2. การทำงานเป็นทีม 3 1. การสื่อสารอย่างเปิดเผย 2. การทำงานเป็นทีม 3. การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และไม่สิ้นเปลือง 4. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 5. ใช้ความรู้ความสามารถ

การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีและมีคุณภาพ

วัฒนธรรมองค์กรที่มีคุณภาพ (Quality Culture) 1

1. ค่านิยม

1. คุณค่าผลงานกำหนดจากความพึงพอใจ ของผู้รับผลงานนั้นไปใช้ 2 1. คุณค่าผลงานกำหนดจากความพึงพอใจ ของผู้รับผลงานนั้นไปใช้ 2. มีจริยธรรม ซื่อสัตย์ ซื่อตรง ไม่เอารัดเอา เปรียบผู้รับบริการและเพื่อนร่วมงาน 3. ศึกษาหาความรู้ พัฒนาความสามารถและ ปรับปรุงทัศนคติของตนเองตลอดเวลา

2. สไตล์การทำงาน

1) ทำงานโดยมีการวางแผน มีเป้าหมายที่ ชัดเจน ปรับปรุงให้ดีขึ้นตลอดเวลา (P-D-C-A) 2) ใช้ความรู้ ความมีเหตุผล ความรอบคอบ และข้อมูลจริงในการทำงานทุก ๆ อย่าง 3) มุ่งมั่นที่จะบรรลุผลสำเร็จอย่างอดทน ไม่ ย่อท้อต่ออุปสรรค

3. พฤติกรรมในการทำงาน

1) ร่วมมือกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เรียนรู้และรับฟังความคิดเห็นจาก เพื่อนร่วมงาน 2) เป็นนักแก้ปัญหา มิใช่เป็นนักสร้าง ปัญหา 3) มีความสามารถสื่อสาร สุ-จิ-ปุ-ลิ

วัฒนธรรมองค์กรของสำนักงาน กศน.

วัฒนธรรมองค์กร สำนักงาน กศน. ภายใต้การนำของ นายประเสริฐ บุญเรือง เลขาธิการ กศน. ได้ปลูกฝั่งวัฒนธรรมการทำงานที่มีคุณภาพ อันเป็นหัวใจสำคัญดังนี้

“การปฏิบัติงานที่ดี ต้องได้ทั้งคน และงานโดยไม่เสีย หลักการ” 1. ค่านิยม “การปฏิบัติงานที่ดี ต้องได้ทั้งคน และงานโดยไม่เสีย หลักการ”

2.สไตล์การทำงาน “ คนสำราญ งานสำเร็จ ”

3.พฤติกรรมใน การทำงาน

1.ตั้งมั่นใน บริการ

2.มุ่งมั่นในการ ทำงาน

3.เชื่อถือในคุณค่า ของตน

4.ยึดมั่นในความ รับผิดชอบ ต่อผู้เรียน 4.ยึดมั่นในความ รับผิดชอบ ต่อผู้เรียน

5. มีจิตสำนึกในการทำงานเป็นทีม โดยมีเป้าหมายร่วมกันที่ชัดเจน 5. มีจิตสำนึกในการทำงานเป็นทีม โดยมีเป้าหมายร่วมกันที่ชัดเจน

การทำงานให้อยู่ในหัวใจประชาชน 1. ครองใจคนในครอบครัว 2.ครองใจเพื่อนร่วมงานและผู้เกี่ยวข้อง 3.มองประชานดุจญาติ

6. บริการให้ดีที่สุดทุกครั้ง 4. ให้ประชาชนเข้าถึงได้ตลอดเวลา 5. มีกิจกรรมแปลกใหม่เสมอ 6. บริการให้ดีที่สุดทุกครั้ง

ฝากไว้เป็นกำลังใจ ปัญหามีไว้แก้ สถิติมีไว้ทำลาย เป้าหมายมีไว้ชน