นวัตกรรมสำนักงานคลังเขต ๖ ปี ๒๕๕๕ นวัตกรรมสำนักงานคลังเขต ๖ ปี ๒๕๕๕ เคาะประตูดูบำนาญ สำนักงานคลังเขต ๖
กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต ผู้มีสิทธิรับเงิน ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต 1.ยื่นคำร้องขอ 2.รวบรวมเอกสาร/หลักฐาน 3.ลงทะเบียนรับ 4.บันทึกแบบขอรับ 5.บันทึกรับเรื่อง พบข้อผิดพลาด/ตีกลับ 6.ตรวจสอบ ถูกต้อง 7.อนุมัติหนังสือสั่งจ่าย รับหลักฐานหนังสือสั่งจ่าย 8.ส่งเรื่องอนุมัติ 9.ตรวจสอบการสั่งจ่าย แจ้งผู้เกี่ยวข้อง 10.ลงทะเบียนขอเบิก 11.บันทึกส่งกรมบัญชีกลาง 12.ประมวลผลจ่ายตรง
ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต ส่วนราชการ ต้นสังกัด หลัก ฐาน ส่งผลให้การอนุมัติสั่งจ่ายล่าช้ากว่าเป้าหมาย 20 % ผู้รับบำนาญ ประกาศเกษียณ ฐานข้อมูลบุคลากร ไม่สมบูรณ์ ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก 1.ยื่นคำร้องขอ สำนักงานคลังเขต ๖ สำนักงานคลังเขต ๖ Key ข้อมูล พร้อมส่งหลักฐาน หนังสือสั่งจ่าย ข้อมูลไม่ครบถ้วน/ ไม่ถูกต้อง 2.รวบรวมเอกสารฯ อนุมัติ 3.ลงทะเบียนรับ 4.บันทึกแบบขอรับ e-Pension อนุมัติ สั่งจ่าย ตีกลับ กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต ไม่อนุมัติ ลงทะเบียนขอเบิก
ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต เป้าหมายโครงการ ; การอนุมัติสั่งจ่ายล่าช้ากว่าเป้าหมาย 10 % ต้นสังกัด ส่วนราชการ หลัก ฐาน ผู้รับบำนาญ ประกาศเกษียณ วัคซีน ประกอบด้วยตัวยาดังต่อไปนี้ ส่วนราชการผู้ขอ/ผู้เบิก รวบรวมข้อมูล กำหนดแผน คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย (นำร่อง/ปัญหา) ลงพื้นที่สนับสนุน พร้อมทำความเข้าใจเพิ่มเติม เช่น การดำเนินการโดยไม่ต้องรอประกาศเกษียณฯ จัดทำเครื่องมือตรวจสุขภาพ (แบบตรวจฯ “15 จุดหยุดความล่าช้า”) 4.กำหนดตารางแผนการปฏิบัติงานของส่วนราชการ (แผนการจัดทำและนำส่งฯ) 5.ลงพื้นที่กำกับเป้าหมายพิเศษ หนังสือสั่งจ่าย 1.ยื่นคำร้องขอ Key ข้อมูล พร้อมส่งหลักฐาน 2.รวบรวมเอกสาร ข้อมูลไม่ครบถ้วน/ ไม่ถูกต้อง อนุมัติ 3. ลงทะเบียนรับ 4.บันทึกแบบขอรับ อนุมัติ สั่งจ่าย e-Pension ตีกลับ กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังเขต ไม่อนุมัติ ลงทะเบียนขอเบิก
แบบตรวจสุขภาพ “15 จุดหยุดความล่าช้า”
เครื่องมือเสริม “ลักษณะที่ 2”
ตารางการจัดส่งแบบขอรับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญสำหรับกลุ่มเป้าหมาย ลำดับ หน่วยงาน (จังหวัดนำร่อง/พิษณุโลก) 2555 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๓๑ 2. โรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก 4. มหาวิทยาลัยนเรศวร 5. ตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก 6. จังหวัดทหารบกพิษณุโลก 7. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมฯ เขต ๑ 8. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมฯ เขต ๒ 9. ที่ทำการปกครองจังหวัดพิษณุโลก 10. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เมื่อวิเคราะห์โครงการแล้ว พบว่าโครงการดังกล่าวมีความคุ้มค่า และสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางในช่วงระยะเวลาที่ทำการศึกษา 3 ปี โดยโครงการดังกล่าวจะสร้างประโยชน์ และสามารถคืนทุนได้ตั้งแต่ปีที่ 1 ด้วยภายใต้เงื่อนไขของต้นทุนเพียงเล็กน้อยกลับสามารถสร้างประโยชน์ได้สุทธิประเมินเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ประมาณ 23 ล้านบาท โดยปัจจัยที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ต้นทุนทางตรง แบ่งเป็น - งบประมาณที่ใช้จัดทำเอกสาร จำนวน 3,000 บาท (ระยะเวลา 1 ปี) - งบประมาณที่ใช้ดำเนินการติดตามประเมินผล จำนวน 7,000 บาท (ระยะเวลา 1 ปี) ต้นทุนทางอ้อม ได้แก่ ต้นทุนค่าเสียโอกาสจากการนำเงินมาลงทุนในโครงการดังกล่าว ซึ่งคำนวณได้จากสมมติฐานของการนำเงินตามข้อที่ 1 มาลงทุนดำเนินโครงการอื่นจำนวน 10,000 บาท ผลประโยชน์ทางอ้อม เพิ่มศักยภาพในการใช้จ่ายเงินภาครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจังหวัดพิษณุโลก (ผู้รับบำนาญได้รับเงินเร็วขึ้น ในขณะเดียวกันเกิดเม็ดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจได้มากขึ้นและเร็วขึ้น) เฉลี่ย 2 ปีแรก ปีละประมาณ 12.47 ล้านบาท และปีที่ 3 อีก 1.26 ล้านบาท NPV (3 ปี) = 23.22 ล้านบาท ( NPV) 0 จึงถือเป็นโครงการที่เหมาะสมสำหรับการลงทุน B/C Ratio = 1,254.83 ( B/C Ratio 1) ถือว่าเป็นโครงการที่เหมาะสมสำหรับการลงทุน หมายเหตุ ; ข้อมูลดังกล่าวเป็นตัวเลขวิเคราะห์จากค่าประมาณการของผลที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กลุ่มข้าราชการกรณีเกษียณปกติ เกษียณก่อนกำหนด และกรณีบำเหน็จลูกจ้าง บนสมมติฐานดังต่อไปนี้ จำนวนการยื่นแบบจังหวัดพิษณุโลกกรณีเกษียณปกติ เกษียณก่อนกำหนด และกรณีบำเหน็จลูกจ้างฯ จำนวน 138 291 และ 125 ราย ตามลำดับ โดยอนุมัติสั่งจ่ายได้ประมาณ 135 232 และ 124 ราย ตามลำดับ หรือ คิดเป็นร้อยละ 98 80 และ 99 ตามลำดับ ของจำนวนเรื่องทั้งหมดที่ยื่นขอรับเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญในแต่ละกรณี เป้าหมายคือ อนุมัติสั่งจ่ายบำเหน็จบำนาญ (ภายใน 30 ก.ย. 2555) ให้ได้ร้อยละ 100 90 และ 100 ตามลำดับ ของจำนวนเรื่องทั้งหมดในแต่ละกรณี หรือ ลดความล่าช้าฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 10 และ 1 ตามลำดับ ของจำนวนที่ยื่นแบบทั้งหมดฯ จำนวนเงินอนุมัติเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญกรณีเกษียณก่อนกำหนดเฉลี่ย 15,000 บาท/ราย/เดือน และบำเหน็จดำรงชีพ 200,000 บาท/ราย บำเหน็จลูกจ้างเฉลี่ย 10,000 บาท/ราย/เดือน