Operator and Standard library functions

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Practical with Flowchart
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Operator of String Data Type
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ข้อมูลและการดำเนินการกับข้อมูล
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
Number system (Review)
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
Serial Communication.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
BC320 Introduction to Computer Programming
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Operator and Standard library functions 886201 Programming I 3

Content Standard library functions ตัวดำเนินการกับข้อมูลชนิดต่างๆ ข้อมูลชนิดตัวเลข ข้อมูลชนิดบูลีน ข้อมูลระดับบิต ข้อมูลชนิดตัวอักขระ ข้อมูลชนิดสายอักขระ Standard library functions

ข้อมูลชนิดตัวเลข ข้อมูลชนิดตัวเลขสามารถใช้ตัว ดำเนินการได้ดังต่อไปนี้ Arithmetic Operators Comparison Operator

Arithmetic Operator เครื่องหมาย ความหมาย + บวก - ลบ * คูณ / หาร % หารเอาเศษ (Modulus) ++ เพิ่มค่าครั้งละ 1 (Increment) -- ลดค่าลงครั้งละ 1 (Decrement) (-) อยู่ด้านหน้าตัวเลขหรือตัวแปรชนิดตัวเลข เป็นการแปลงค่าให้กลายเป็นค่าตรงกันข้ามกับค่าเดิม เช่น จากค่าบวกเป็นค่าลบ และ จากค่าลบเป็นค่าบวก

ตัวดำเนินการเลขคณิต (Arithmetic Operators) สัญลักษณ์ ประเภทข้อมูล ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + int, float, double 2 + 3 5 - 3 - 4 -1 * 5 * 6 30 / float, double 4.50 / 3.0 1.50 int 6 / 7 % 6 % 7 6

Comparison Operator เครื่องหมายในการเปรียบเทียบข้อมูล โดย ผลลัพธ์ที่ได้จะมีค่าเป็นค่าตรรกะบูลีน คือ จริง (True) หรือ เท็จ (False) เครื่องหมาย ความหมาย == เท่ากับ != ไม่เท่ากับ > มากกว่า >= มากกว่าหรือเท่ากับ < น้อยกว่า <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ

ตัวดำเนินการเปียบเทียบ (Comparison Operators) สัญลักษณ์ ประเภทข้อมูล ตัวอย่าง ผลลัพธ์ == int, float, double 2 == 3 != 3 != 4 1 > 6 > 5.9 >= 5 >= 4.0 < 7 < 7 <= 7 <= 7

Comparison Operator จริง (True) คือ 1 เท็จ (False) คือ 0 int x =10 cout<<(x=20) cout<<(x==20)

ข้อมูลชนิดบูลีน ใช้ตัวดำเนินการ Logical Operator เป็นตัวดำเนินการกับค่าตรรกบูลีน ซึ่งให้ค่า จริง (True) หรือ เท็จ (False) เครื่องหมาย ความหมาย && AND จะเป็นจริง เมื่อค่าที่มาดำเนินการมีค่าเป็นจริงทั้งคู่ || OR จะเป็นจริง เมื่อค่าที่มาดำเนินการมีค่าเป็นจริงทั้งคู่ หรือ ค่าใดค่าหนึ่งเป็นจริง ! NOT นิเสธ เป็นการแปลงค่าตรงกันข้าม จากจริงเป็นเท็จ หรือ จากเท็จเป็นจริง

Logical Operator ผลลัพธ์ 1

Logical Operator ผลลัพธ์ 1

ข้อมูลระดับบิต ใช้ตัวดำเนินการ Bitwise Operator เป็นการดำเนินการในระดับบิต นั่นคือ ดำเนินการกับข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็น เลขฐานสองในหน่วยความจำ เครื่องหมาย ความหมาย x & y AND ระดับบิต ระหว่าง x กับ y x | y OR ระดับบิต ระหว่าง x กับ y x ^ y XOR ระดับบิต ระหว่าง x กับ y ~x การทำ complement x << y เลื่อนบิตในตัวแปร x ไปทางซ้าย y บิต เลื่อนบิตในตัวแปร x ไปทางขวา y บิต

Bitwise Operator ผลลัพธ์ 8 248 8 248

ข้อมูลชนิดตัวอักขระ (char) เก็บข้อมูลเพียงหนึ่งตัวอักขระ ใช้เครื่องหมาย ' (single quote) ปิดหน้าและ ปิดหลัง หนึ่งอักขระใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บ 8 bits (หรือ 1 byte) เช่น 'a', 'C', 'D', '^', '@' หรือ escape character เช่น ‘\n’, ‘\t’, ‘\’’, ‘\”’ มีความสัมพันธ์กับเลขจำนวนเต็ม จึงใช้ operator เดียวกับข้อมูลชนิดตัวเลข ใช้รูปแบบมาตราฐาน ASCII (American standard Code for Information Interchange) มีรูปแบบที่แตกต่างกัน 256 ค่า

ASCII Table

ความสัมพันธ์ระหว่าง char กับ int

สายอักขระ (String) เก็บข้อมูล 1 ตัวอักขระหรือมากกว่า ใช้เครื่องหมาย " (double quote) ปิดหน้า และปิดท้าย เช่น "student", "diligent", "industrious" #include <string> using namespace std; ... string name = "Harry";

String Operator HeyBoy การเชื่อมประโยค ข้อความเข้าด้วยกัน (Concatenation) โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) เช่น ผลลัพธ์ HeyBoy

การหาความยาวของ string string greeting = "Hello, World!"; H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 int n; n = greeting.length(); cout << “n= ” << n << endl; ผลลัพ ธ์ n= 13

การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(0, 5); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "Hello"

การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(7, 5); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "World"

การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(7); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "World!"

การพิมพ์ตัวอักษรหนึ่งตัวใน string H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; cout << greeting[7] << endl; // พิมพ์ตัวอักษร W ออกทางหน้าจอ

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

string

Standard library functions เนื่องจากงานบางอย่างมีการเรียกใช้เป็น ประจำ ดังนั้นจึงมีการสร้างฟังก์ชัน มาตราฐานเพื่อให้ทำงานต่างๆ เหล่านี้ สะดวกขึ้น ฟังก์ชันมาตราฐานเรียกใช้ได้โดยการ include ไฟล์ที่ต้องการ เช่น #include<iostream>

Standard library functions #include <iomanip>

iomanip

Standard library functions #include <cmath>

cmath

Standard library functions #include <cctype>

Standard library functions #include <cctype>

cctype

cctype

Standard library functions #include <cstdlib>

cstdlib

Standard library functions #include <string>

ตัวอย่างโจทย์ จงเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณพื้นที่ผิวกาย (ตารางเมตร) จากความสูง (เซนติเมตร) และ น้ำหนัก (กิโลกรัม) คำนวณได้จากสูตร พื้นที่ผิวกาย= น้ำหนัก × ความสูง 3600 จากนั้นให้แสดงผลลัพธ์ออกจากหน้าจอ (แสดงผลลัพธ์เป็นเลขทศยินม 2 ตำแหน่ง)

วิเคราะห์โจทย์ Input Process Output ความสูง น้ำหนัก คำนวณคำตอบของสมการตามสูตร Output ผลการคำนวณพื้นที่ผิวกาย พื้นที่ผิวกาย= น้ำหนัก × ความสูง 3600

ออกแบบโปรแกรม Algorithm รับค่าเลขตัวเลขความสูงเก็บใน height รับค่าเลขตัวเลขน้ำหนักเก็บใน weight คำนวณหาพื้นที่ผิวกายตามสูตร เก็บไว้ใน ans ans = sqrt(weight*height/3600) 4. แสดงค่าผลลัพธ์ที่เก็บใน ans ด้วย ทศนิยม 2 ตำแหน่ง

เขียนโปแกรม

แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม http://www.cplusplus.com/doc/tutori al/ http://www.tutorialspoint.com/cplusp lus/