Flip Flop ฟลิปฟล็อบ Flip Flop เป็น Multivibrator ชนิด Bistable

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
-- Introduction to Sequential Devices Digital System Design I
Advertisements

Flip-Flop บทที่ 8.
Flip Flop ฟลิบฟล็อบ Flip Flop เป็น Multivibrator ชนิด Bistable คือ มี Output คงที่ 2 สภาวะ คำว่าคงที่ คือ คงอยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่งโดยไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะมี
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
4.2 โปรแกรมป้องกันการทำงานพร้อมกัน
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
การรับหนังสือ ในระบบสารบรรณ
Pushdown Automata : PDA
สถานะการส่งข้อมูล OP person, chronic. ข้อมูลที่อยู่ในฐานจังหวัด ในลักษณะการตัดข้อมูลเดิม จะมีการตัดข้อมูลทั้งคนที่สถาณะยังมีชีวิต และไม่มีชีวิตด้วย.
Virtual Memory. Detailed VM Example ในเรื่องนี้จะมีการนำเสนอในรูปแบบ ของการทำงานที่เป็นไปตามขั้นตอน เมื่อ เกิดการผิดพลาดของข้อมูล ISR จะทำ หน้าที่เป็น.
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
Finite-state Automata
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
1.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
IT Manual SCM June 2016 By Prasert Dokmuang. 2 3.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
SR Latch SR Latch ต้องรอ negative edge เพื่อให้ Q = D Y = D Q = Y.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Flip-Flop บทที่ 8.
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
เครื่องมือวัดดิจิตอล
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
Basic Input Output System
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การติดตาม (Monitoring)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
เงื่อนไขการสร้างเอกสารเลือกวันหยุด
บทที่ 8 พัลส์เทคนิค
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Flip Flop ฟลิปฟล็อบ Flip Flop เป็น Multivibrator ชนิด Bistable คือ มี Output คงที่ 2 สภาวะ คำว่า คงที่ คือ คงอยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่ง โดยไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะมี input เข้ามากระตุ้น 31 มีนาคม 2561 Flip Flop คือ หน่วยความจำประเภทหนึ่ง ที่สามารถเก็บรักษาข้อมูล หรือสภาวะ (state) ทางตรรกไว้ได้ และจะรักษาจนกว่า input เข้าใหม่ และเปลี่ยนสัญญาณ clock จึงจะทำให้ output มีการเปลี่ยนแปลง - RS Flip Flop คือ วงจรที่ใช้ความสัมพันธ์ของ input 2 ตัว และมี Prohibited - D Flip Flop คือ วงจรที่เปลี่ยนสถานะเมื่อสัญญาณ D เปลี่ยน และขึ้นกับขาของ CK - T Flip Flop คือ วงจรที่เปลี่ยนสถานะเมื่อสัญญาณนาฬิกาเปลี่ยนไป - JK Flip Flop คือ วงจรที่ใช้ความสัมพันธ์ของ input 2 ตัว และมีการแกว่งค่า (Toggle) หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 ! http://somyut.krutechnic.com/unit5.html http://www.circuitstoday.com/flip-flops https://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/fl-types.htm http://wearcam.org/ece385/lectureflipflops/flipflops/

Function of Flip flop Function of RS Flip flop คือ Q(next) = S + R'Q Function of D Flip flop คือ Q(next) = D Function of D Flip flop คือ Q(next) = TQ' + T'Q Function of JK Flip flop คือ Q(next) = JQ' + K'Q https://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/sa-op.htm https://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/fl-types.htm

ไม่เปลี่ยนแปลง (No change) กำหนดไม่ได้ (Prohibited) 1. RS Flip Flop วงจร RS Flip Flop คือ วงจรที่ใช้ความสัมพันธ์ของ input 2 ตัว - มี Q เป็นผลลัพธ์ และตรงข้ามกับ Q’ เสมอ (Complement) - ถ้า Input Set เป็น 1 เข้าไป จะทำให้ Q เป็น 1 และ Q’ เป็น 0 - ถ้า Input Reset เป็น 1 เข้าไป จะทำให้ Q เป็น 0 และ Q’ เป็น 1 สามารถใช้ได้ทั้ง NOR Gate และ NAND Gate http://somyut.krutechnic.com/unit5.html INPUT Output State of output Reset Set Q Q’ ไม่เปลี่ยนแปลง (No change) 1 - กำหนดไม่ได้ (Prohibited) หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 https://www.electronics-tutorials.ws/sequential/seq_1.html

1. RS Flip Flop การต่อวงจรด้วย NAND 2 ตัว หรือ NOR 2 ตัว ก็ให้ผลเหมือนกัน Function Q = R + Q Q = S + Q Q = R . Q Q = S . Q Function of RS Flip flop คือ Q(next) = S + R'Q R Q R Q NOR NAND หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 https://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/fl-types.htm Q’ Q’ NOR NAND S S (ก) RS Flip Flop ใช้ NOR Gate (ข) RS Flip Flop ใช้ NAND Gate

1. RS Flip Flop (ก) RS Flip Flop ใช้ NOR Gate Q R Q NOR NOR ck Q’ Q’ NOR NOR S S (ก) RS Flip Flop ใช้ NOR Gate (ข) RS Flip Flop with clock หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 R Q ck S Q’ (ค) สัญลักษณ์ RS Flip Flop

ค่าที่ไหลเข้าไปทาง R และ S จะได้ Q อย่างไร

http://wearcam.org/ece385/lectureflipflops/flipflops/

2. D Flip Flop วงจร D Flip Flop คือ วงจรที่เปลี่ยนสถานะเมื่อสัญญาณ D เปลี่ยน และขึ้นกับขาของ CK - มี Q เป็นผลลัพธ์ และตรงข้ามกับ Q’ เสมอ (Complement) ถ้า D เป็น 0 ทำให้ R = 1 และ S = 0 หลังจาก ck เปลี่ยนจาก 0 เป็น 1 ถ้า D เป็น 1 ทำให้ R = 0 และ S = 1 หลังจาก ck เปลี่ยนจาก 0 เป็น 1 D R Q D Q หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 ck ck S Q Q (ก) แบบที่ 1 (ข) แบบที่ 2

2. D Flip Flop แสดงความสัมพันธ์ของ D และ Q ที่มีเงื่อนไขกับ ck ขาขึ้น Function of D Flip flop คือ Q(next) = D ck D Qn + 1 ↑ 1 X Qn http://somyut.krutechnic.com/unit5.html หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 https://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/fl-types.htm 1 Clock input : CK 1 Input D 1 Output Q

http://wearcam.org/ece385/lectureflipflops/flipflops/

3. T Flip Flop (Toggle) วงจร T Flip Flop คือ วงจรที่เปลี่ยนสถานะเมื่อสัญญาณนาฬิกาเปลี่ยนไป การเปลี่ยนสภาวะทุกครั้งที่มี Clock pulse เข้ามา มี 2 แบบคือ ขาขึ้น และขาลง ของ Clock pulse (ข) แบบ Trigger ที่ขาลง (Trailing edge) ของ clock pulse Q หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 ck T Q ck Q T Q (ก) แบบ Trigger ที่ขาขึ้น (Leading edge) ของ clock pulse

3. T Flip Flop ck Qn + 1 เปลี่ยนค่า Q ตามสัญญาณนาฬิกา เปลี่ยนตามสถานะถัดไปด้านล่าง ck Qn + 1 ↑ หรือ ↓ Qn Function of D Flip flop คือ Q(next) = TQ' + T'Q หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 https://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/fl-types.htm 1 Clock input : CK 1 Output Q 1 Output Q

แบบจำลองการประยุกต์ใช้ T Flip Flop http://www. neuroproductions การต่อ T Flip Flop ติดต่อกัน 4 ตัว และเปิดตามสัญญาณนาฬิกาทุก 1000 millisecond มีผลให้ Flip Flop ตัวแรกปิดเปิดทุกครั้งที่มีสัญญาณนาฬิกาเข้า สัญญาณเข้าไปเปิดให้เป็น 1 หากค่าเดิมเป็น 0 แล้วส่งสัญญาณต่อไป สัญญาณเข้าไปปิดให้เป็น 0 หากค่าเดิมเป็น 1 และไม่ส่งสัญญาณต่อ ดังนั้นเปิดสวิตซ์ครั้งแรกจะทำให้ไฟทุกดวงเปิด และค่อย ๆ ลดลง

http://wearcam.org/ece385/lectureflipflops/flipflops/

4. JK Flip Flop วงจร JK Flip Flop คือ วงจรที่ใช้ความสัมพันธ์ของ input 2 ตัว และมีการแกว่งค่า (Toggle) คล้ายกับ RS Flip Flop แต่ที่เพิ่มเติม คือ กรณี input 2 ตัวเป็น 1 ทั้งคู่ ถ้า R และ S เป็น 1 ทั้งคู่ แล้วค่าของ Q จะ Prohibited คือ 0 ทั้งคู่ ถ้า J และ K เป็น 1 ทั้งคู่ แล้วค่าของ Q จะ Toggle ck tn tn + 1 j k Qn +1 ↓ Qn 1 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 http://www.neuroproductions.be/logic-lab/ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%9B http://somyut.krutechnic.com/unit5.html

4. JK Flip Flop เปลี่ยนค่าเมื่อ CK เป็นขาลง หรือทำงานตามสถานะถัดไปด้านล่าง Function of JK Flip flop คือ Q(next) = JQ' + K'Q วงจร JK Flip Flop ทำได้โดยการนำวงจร RS Flip Flop มาเพิ่มวงจร Logic บางส่วน K R Q หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 1 หน้า 158 หนังสือ ดิจิตอลเทคนิค เล่ม 2 หน้า 38 https://www.ee.usyd.edu.au/tutorials/digital_tutorial/part3/fl-types.htm https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%9B#.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B9.80.E0.B8.AD.E0.B8.AA.E0.B8.9F.E0.B8.A5.E0.B8.B4.E0.B8.9B.E0.B8.9F.E0.B8.A5.E0.B9.87.E0.B8.AD.E0.B8.9B ck J Q J S Q ck K Q (ก) JK Flip Flop ที่แปลงจาก RS Flip Flop (ข) JK Flip Flop

http://wearcam.org/ece385/lectureflipflops/flipflops/

แบบฝึกหัด จงเขียน Truth table ของทั้ง 4 Flip Flop จงเขียน Logic Gate แสดงการทำงาน ของทั้ง 4 Flip Flop จงเขียน Function หรือ Equation ของทั้ง 4 Flip Flop