ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ อสม. สู่การทำงานสุขภาพเชิงรุก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
John Rawls  John Rawls is the most famous American social contract theorist argued that “Justice is fairness” He Thought human natural have a appropriate.
Advertisements

COMPUTER CONTROL OF MACHINES AND PROCESSES
CIO Roles and Responsibilities
Lab Login แล้วดำเนินการดังต่อไปนี้ ที่ home directory สร้าง sub directory ชื่อ Lab01 พิมพ์คำสั่ง cd Lab01 พิมพ์คำสั่ง pwd แล้วกด Enter พิมพ์คำสั่ง.
LAB # 7 CASE SWITCH CONTINUE. 2 /*Program : base_num.cpp Process : display change base number of decimal,octal,hexadecimal*/ #include void main() { cout
Problem with Subjunctive Verbs Some verbs and noun require a subjunctive. A subjunctive is a change in the usual form of the verb. It is often a verb word.
โดย นรฤทธิ์ สุนทรศารทูล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
หมายเหตุ ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย x ทับข้อ a.b,c ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อ เดียว.
One who is equipped with virtues and knowledge is the most accomplished among humans and gods. ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้คู่ความดี คือ ผู้ที่ประเสริฐสุดในหมู่มนุษย์และเทวดา.
มุมมองภาคเอกชนต่อความพร้อมการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนของราชการไทย จารุนันท์ อิทธิอาวัชกุล
วิธีการคิดวิเคราะห์.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
การประเมินภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
หน่วยที่ 6 ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
สถานการณ์ และข้อมูลเกี่ยวกับ Ebola และ MERS COV
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
Lab 01 : พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว
“นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่”
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร.
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
การประกันคุณภาพผลิตผลสดทางการเกษตรตามมาตรฐาน Codex
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มติดตามและประเมินผล กอง แผนงานและวิชาการ.
วิชากฎหมายพาณิชย์ 2 อ.สุธาสินี สุภา
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อน
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
การกระจายของโรคในชุมชน
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
เข็มมุ่งกรมอนามัย ประจำปี 2559
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การจัดการความรู้ กรมชลประทาน Knowledge management (KM)
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
การจัดการโรคไตเรื้อรัง CKD management
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
นโยบายเร่งด่วน ของ ผบ.ตร.
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน ม.4/1 – ม.4/4
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 MLP รายวิชาพื้นฐาน
การมีส่วนร่วม ... กระจายอำนาจ... ความยั่งยืน
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
การผลิตผลงานวิดิทัศน์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
<insert problem title>
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
Workday Merit Process - Approvers
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
Figure 2. Changes in blood glucose levels after STZ injection in the surviving experimental rats. Diabetes induction was confirmed by the measurement of.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ อสม. สู่การทำงานสุขภาพเชิงรุก ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ อสม. สู่การทำงานสุขภาพเชิงรุก โดยนางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชชาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วันศุกร์ที่ 2๔ มิถุนายน 25๕๙ ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร 1-14

จุดเริ่มต้นการพัฒนา อสม. แผนฯ 4 2520-2524 แผนฯ 11 2554-2559 อสม. สสม. อัลมา-อตา WHO 14 องค์ประกอบ การสุขศึกษา โภชนาการ การจัดหาน้ำสะอาดและการสุขาภิบาล การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การอนามัยแม่และเด็กและการวางแผนครอบครัว การรักษาพยาบาลง่าย ๆ การจัดหายาที่จำเป็นในหมู่บ้าน สุขภาพจิต ทันตสาธารณสุข การอนามัยสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองผู้บริโภค การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ และโรคไม่ติดต่อ การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ “สุขภาพดีถ้วนหน้า 2543” หลักการที่สำคัญของการสาธารณสุขมูลฐาน 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2. การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. มีการปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐ เพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน 4. การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่นๆ ผสส. อสม. อสค. 1-14

ชมรม อสม.ระดับ ประเทศ ภาค เขต จังหวัด อำเภอ วิวัฒนาการพัฒนา อสม. จาก แผนฯ 4 แผนฯ 11 1. ผสส. บทบาท อสม. ส่งเสริม ป้องกัน (เฝ้าระวัง) รักษาเบื้องต้น ฟื้นฟู พิทักษ์สิทธิ์คุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ -ต้นแบบสุขภาพดี อสม. อสค. แผนฯ 7 2. อสม. อสม. เชี่ยวชาญ 10 สาขา อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน อสม. นักจัดการสุขภาพกลุ่มวัย -อสม.นักบริหารมืออาชีพ 14 องค์ประกอบ ชมรม อสม.ระดับ ประเทศ ภาค เขต จังหวัด อำเภอ (สมาคม มูลนิธิ ) 1-14

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม.ในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และพิทักษ์สิทธิของประชาชนด้านสุขภาพ 1. โครงการเสริมสร้างศักยภาพ อสม.ด้านการ เฝ้าระวังป้องกันการทุจริตใน ระดับชุมชน เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตในระดับ ชุมชนให้ อสม. เป้าหมายการอบรม : อสม. ตำบลละ 12 คน รวมทั้งสิ้น 87,800คน อสม.ที่ผ่านอบรมสามารถขยาย เครือข่ายได้ 10รายขึ้นไป(ร้อยละ 60 ) 1-14

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม.ในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และพิทักษ์สิทธิของประชาชนด้านสุขภาพ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการ สุขภาพกลุ่มวัย ปีงบประมาณ 2559 เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับ บริการปฐมภูมิระดับชุมชนที่มีคุณภาพ จาก อสม. เป้าหมายการอบรม : อสม. ตำบลละ 6 คน รวมทั้งสิ้น 52,236 คน :อสม.มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน(ร้อยละ 60 ) :ระดับความสำเร็จในการส่งเสริม สนับสนุน อสม.นักจัดการสุขภาพ กลุ่มวัยในตำบลจัดการ สุขภาพแบบบูรณาการ 1-14

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา อสม.ในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และพิทักษ์สิทธิของประชาชนด้านสุขภาพ 3. โครงการส่งเสริมบทบาทเครือข่าย อสม. ในการ ขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับ อำเภอ ปีงบประมาณ 2559 3.1 องค์กร อสม. พลังชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับ พฤติกรรม 3.2 การขับเคลื่อนชมรม อสม. 3.3 การจัดประชุมวิชาการสุขภาพภาคประชาชน 4 ภาค 3.4 ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กร อสม.ให้มีมาตรฐาน 3.5 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อพิทักษ์สิทธิของประชาชน ด้านสุขภาพผ่านสื่อฯ 3.6 ส่งเสริม อสม. เชิงรุก ให้ อสม. ได้รับค่าป่วยการ เพื่อส่งเสริมพัฒนา สนับสนุน อสม. ภาคีเครือข่ายสุขภาพภาค ประชาชน ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรม สุขภาพและการจัดการระบบสุขภาพชุมชน และชมรมทุกระดับมี ความเข้มแข็ง เป้าหมาย : คณะกรรมการบริหารชมรม 35 คน : ชมรม อสม.ระดับจังหวัด 76 จังหวัด และระดับ อำเภอ 878 อำเภอ 1-14

บทบาท อสม. มีบทบาท เป็นผู้นำการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน/ ชุมชน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Chang agents) ด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของประชาชน บทบาทที่สำคัญ 6 ประการ.. “..แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการ ประสานงานสาธารณสุข บำบัดทุกข์ประชาชน ทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี..” 1-14

จากนโยบายนำสู่การพัฒนา อสม. และ อสค. นโยบายกระทรวงฯ หรือผังยุทธศาสตร์กระทรวงฯ การพัฒนาระบบริการปฐมภูมิ นโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ บริการปฐมภูมิ/พัฒนาขีดความสามารถ ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง อสม.เชี่ยวชาญ ๑๐ สาขา อสม. เชี่ยวชาญ 10 สาขา นโยบายกองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน สนับสนุนบทบาท อสม.ในการเป็น แกนนำในการจัดการสุขภาพชุมชน อสม. นักจัดการสุขภาพกลุ่มวัย ๐สนับสนุนการจัดตั้ง อสค.: อาสาสมัครประจำครอบครัว อสม. นักบริหารมืออาชีพ 1-14

การอบรม อสม.นักบริหารมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้นำ กรรมการชมรม อสม. ระดับประเทศ ๓๕ คน ให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานการเป็น ผู้นำ บริหารองค์กร อสม.อย่างมีประสิทธิภาพ / ต่อเนื่อง ส่งเสริมค่านิยมการเป็นจิตอาสา การช่วยเหลือ ทำ ประโยชน์แก่ผู้อื่น การเป็นบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ 1-14

การอบรม อสม.นักบริหารมืออาชีพ จัดอบรมรุ่นที่ ๑ ที่ สบส. เขต ๑๒ จังหวัดยะลา มีหลักสูตร อบรม ๗ วัน มีใบประกาศ คู่มือปฏิบัติงาน บัตรประจำตัว จัดช่วงเวลา ปลายกรกฎาคม ๕๙ –สิงหาคม ๕๙ 1-14

การอบรม อสค. : อาสาสมัครประจำครอบครัว การอบรม อสค. : อาสาสมัครประจำครอบครัว อบรม ตำบล ละ ๕ คน รวม ๔๐.๐๐๐ คน อบรมที่ รพ.สต. กลุ่มเป้าหมายอบรม เป็นญาติ /ผู้ดูแล ผู้ป่วย เรื้อรังในครอบครัว เช่น เบาหวาน ความดัน ไต ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพิง มี อสม. เป็นพี่เลี้ยง ๑ คน : อสค. ๓ คน อบรม เดือน สิงหาคม ๕๙ 1-14

การสร้างความเข้มแข็งให้กับ องค์กร อสม. ส่งเสริมการเป็นผู้นำ องค์กร อสม. เช่น จัดประชุมถ่ายทอด นโยบายสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่หรือ ส่วนกลาง มีกิจกรรมการสร้างพลัง ประกาศเจตนารมณ์ร่วมกับ องค์กร ภาคีสุขภาพ เช่น ลดละเลิกบุหรี่ ลดอุบัติเหตุ เทศกาลปีใหม่ สงกรานต์ การสร้างสุขภาพ รณรงค์ต่างๆ ร่วมเป็นกรรมการ ประธานในกิจกรรม /โครงการ เป็นบุคคล /องค์กรต้นแบบด้านการมีส่วนร่วม /สุขภาพดี /ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดี ลดเสี่ยง ลดโรค สร้างโครงสร้างองค์กร อสม.ที่เข้มแข็ง มีการบริหาร จัดการชัดเจน 1-14

“อาสา สามัคคี มีวินัย อุดมการณ์” . 1-14 13

กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ขอขอบคุณ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน 1-14