บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดย่อม ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สมชาย หิรัญกิตติ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ได้กำหนด สมชาย หิรัญกิตติ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ได้กำหนด เกณฑ์ของอุตสาหกรรมขนาดเล็กคือ ธุรกิจที่มีเงินลงทุน ไม่เกิน 10 ล้านบาท จำนวนคนงานไม่เกิน 50 คน ใช้น้ำน้อย ไม่มีมลภาวะและน้ำเสีย
วิชัย โถสุวรรณจินดา บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม (บ.อ.ย.) วิชัย โถสุวรรณจินดา บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม (บ.อ.ย.) ได้กำหนดเกณฑ์อุตสาหกรรมขนาดย่อมจาก เงินทุนจดทะเบียน หรือสินทรัพย์ถาวรไม่เกิน 50 ล้านบาท
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กำหนดเป็นกฎกระทรวงอุตสาหกรรม 11 กันยายน 2545 ประเภทกิจการ การจ้างงาน มูลค่าสินทรัพย์ถาวร ผลิตสินค้า ไม่เกิน 50 คน ไม่เกิน 50 ล้านบาท ค้าส่ง ไม่เกิน 25 คน ค้าปลีก ไม่เกิน 15 คน ไม่เกิน 30 ล้านบาท ให้บริการ
สมาคมบริหารธุรกิจขนาดย่อม ในประเทศ USA พิจารณาจำนวนยอดขาย หรือจำนวนพนักงานเป็นเกณฑ์ ดังนี้ ค้าปลีกและให้บริการ มียอดขายไม่เกิน 3.5 ล้านเหรียญสหรัฐ/ปี ค้าส่ง มีจำนวนพนักงานไม่เกิน 500 คน การผลิต มีจำนวนพนักงานไม่เกิน 500 คน ขนส่งและคลังสินค้า มียอดขายไม่เกิน 1 ล้านเหรียญสหรัฐ/ปี ก่อสร้าง มียอดขายไม่เกิน 17.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ภายใน 3 ปี การเกษตร มียอดขายไม่เกิน 1 แสนเหรียญสหรัฐ/ปี
ฮัทเทน (Hatten) เป็นธุรกิจขนาดเล็กที่เจ้าของ มีอิสระในการบริหารงานด้วย ตนเอง มีพนักงานไม่เกิน 100 คน
ธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง ธุรกิจขนาดเล็ก สรุปได้ว่า ธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง ธุรกิจขนาดเล็ก ใช้เงินลงทุนไม่มาก มีปริมาณยอดขายน้อย สินทรัพย์ของกิจการมีจำกัด มีอิสระในการ บริหารงานและการเงินด้วยตัวของเจ้าของ
ลักษณะของธุรกิจขนาดย่อม ปริมาณของยอดขายมีน้อย ผู้เป็นเจ้าของธุรกิจสามารถใช้ฝีมือที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่ บริการที่ให้แก่ลูกค้านั้นเป็นการส่วนตัว ความสะดวกสบาย สามารถปรับตัวเข้ากับความต้องการของท้องถิ่นได้ดี
ลักษณะของธุรกิจขนาดย่อม (ต่อ) แรงจูงใจสูง มีความคล่องตัวในการบริหารธุรกิจ ใช้เงินลงทุนน้อย เครื่องจักรเครื่องมือใช้เทคโนโลยีไม่สูง ตลาดมีอยู่ทั่วไปในภูมิภาค
คณะกรรมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ (อเมริกา) มีลักษณะอย่างน้อยที่สุด 2 ประการ จาก 4 ประการ ดังนี้ การบริหารงานเป็นไปอย่างอิสระ เงินทุนในการดำเนินงานค่อนข้างจำกัด การดำเนินงานอยู่ในเขตพื้นที่ท้องถิ่นหนึ่งเท่านั้น มีขนาดเล็กไม่มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมส่วนรวม
ประเภทของธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจการผลิต หรืออุตสาหกรรม ธุรกิจการจำหน่าย (ปลีก + ส่ง) หรือพาณิชยกรรม ธุรกิจให้บริการ
องค์ประกอบของธุรกิจขนาดย่อม คน เงิน เครื่องมือเครื่องจักร วัตถุดิบ การจัดการ การตลาด ขวัญและกำลังใจ
คุณสมบัติของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อม มีบุคลิกภาพส่วนบุคคลที่ดี มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้าและมีความรู้เกี่ยวกับ ลูกค้าดี มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อแหล่งชุมชนที่กิจการตั้งอยู่ มีจรรยาบรรณทางธุรกิจและรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎระเบียบของทางราชการ เต็มใจในการดำเนินงานตามกฎระเบียบของกิจการ
ข้อได้เปรียบของการประกอบธุรกิจขนาดย่อม มีความเป็นอิสระและคล่องตัวในการบริหารงาน มีความใกล้ชิดกับลูกค้า มีความยืดหยุ่นในการตัดสินใจ เช่น การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ฯลฯ ผู้ประกอบการมีความพึงพอใจและตั้งใจดำเนินงานที่ตนถนัด เหมาะกับธุรกิจประเภทผลิตสินค้าที่เน่าเสียได้ง่าย เหมาะกับธุรกิจที่มีขนาดของตลาดจำนวนจำกัด
ข้อได้เปรียบของการประกอบธุรกิจขนาดย่อม (ต่อ) เหมาะกับธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงความนิยมไปตามสมัยนิยม เหมาะกับธุรกิจการให้บริการที่ต้องใช้ความสามารถส่วนตัว เหมาะกับผู้บริโภคเฉพาะแต่ละชุมชนหรือภาคต่าง ๆ ใช้เงินลงทุนน้อย จัดตั้งได้ง่าย มีประสิทธิภาพในการบริหารงานเพราะมีความใกล้ชิดกับ พนักงาน รัฐบาลให้การสนับสนุน
ข้อเสียเปรียบของการประกอบธุรกิจขนาดย่อม เงินทุน หรือการระดมเงินทุนทำได้ยาก ไม่สามารถรักษาพนักงานที่มีความสามารถได้ ผู้บริหารขาดประสบการณ์ในการบริหารจัดการ การจัดการที่ไร้ประสิทธิภาพ เช่น คน เวลา เงินทุน ลูกค้า ฯลฯ ไม่สามารถผลิตสินค้าที่ผูกขาด เพราะขาดเงินทุน แรงงาน ความรู้ ผู้บริหารจะบริหารงานทุกด้านของกิจการ ทำให้ไม่มีเวลาในบางเรื่อง ขาดเงินทุนและอุปกรณ์ด้านการค้นคว้าวิจัยทางธุรกิจด้านต่าง ๆ มีความเสี่ยงและต้นทุนการผลิตต่อหน่วยสูงกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
ความแตกต่างระหว่างธุรกิจขนาดย่อมกับขนาดใหญ่ 1. เจ้าของดำเนินงานเอง 2. ดำเนินกิจการภายในท้องถิ่น 3. จัดองค์การแบบง่าย ๆ 4. เป็นกิจการเจ้าของคนเดียว 5. เจ้าของกับพนักงานมีความใกล้ชิด 6. เสี่ยงต่อความล้มเหลวมาก 7. เจ้าของทำงานหลายหน้าที่ ธุรกิจขนาดใหญ่ 1. จ้างมืออาชีพเป็นผู้จัดการ 2. ดำเนินกิจการครอบคลุมทั่วประเทศ 3. การจัดองค์การมีความซับซ้อน 4. เป็นบริษัทจำกัด / บ.มหาชน จำกัด 5. เจ้าของไม่ใกล้ชิดกับพนักงาน 6. เสี่ยงต่อความล้มเหลวน้อย 7. แบ่งงานกันทำตามความถนัด
ปัญหาและอุปสรรคของธุรกิจขนาดย่อม ความรู้ ความสามารถด้านการตลาด ขาดแคลนเงินทุน การรับรู้ข่าวสารข้อมูล ด้านแรงงาน มีการเข้า-ออกงานสูง ด้านเทคโนโลยีการผลิต + ความรู้พื้นฐาน ขาดการบริหารงานที่เป็นระบบ การเข้าถึงการส่งเสริมของรัฐ การให้บริการส่งเสริมพัฒนาองค์กรจากภาครัฐ+เอกชน
บทบาทของธุรกิจขนาดย่อมต่อระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวม การสร้างงานใหม่ การสร้างนวัตกรรม กระตุ้นการแข่งขันทางเศรษฐกิจ สนับสนุนธุรกิจขนาดใหญ่ * หน้าที่การจัดจำหน่าย * หน้าที่ในการขายปัจจัยการผลิต ผลิตสินค้า / บริการ อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวโน้มของธุรกิจขนาดย่อม จำนวนประชากรของประเทศสูงขึ้น ส่วนราชการให้การสนับสนุน ประชาชนมีการศึกษา และฝึกอบรม มากขึ้น ผู้บริโภคชอบผลิตภัณฑ์ที่เฉพาะเจาะจง การบริการที่รวดเร็ว สนับสนุนธุรกิจขนาดใหญ่ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความยืดหยุ่น
จบบทที่ 1 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...