บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การเขียนโครงร่างวิจัย
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ณ. ห้องประชุมอาคาร NEWMASIP สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรม ชลประทาน ( ปากเกร็ด ) จังหวัดนนทบุรี
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
Phase 1 Systems Planning
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
การขอโครงการวิจัย.
Continuous Quality Improvement
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
หลักการเขียนเกณฑ์การประเมิน(Rubrics)
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning

การวางแผนการพัฒนา Development Planning

Development Planning : การวางแผนการพัฒนา ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ กำหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้

Cause of Development Issue : แรงผลักดันที่ก่อให้เกิดประเด็นการพัฒนา ความต้องการของภาคประชาชน / ท้องถิ่น ความต้องการของภาครัฐ ปัญหาจากระบบการพัฒนาแบบเดิม แรงผลักดันจากภายนอก ส่วนภูมิภาคเสนอให้มีการปรับปรุงระบบ ฯลฯ

Development Issue Setting : การกำหนดประเด็นการพัฒนามี วิธีการพื้นฐาน ๒ ประการ ศึกษาจากปัญหาที่ดำรงอยู่ก่อนการพัฒนา ศึกษาจากปัญหาที่เป็นผลจากการพัฒนา “ที่ใดไม่มีปัญหา ที่นั่นย่อมไม่มีการพัฒนา”

การศึกษาความเป็นไปได้ Feasibility Study

Initial-target of Development : ความเป็นไปได้ในการพัฒนา เพิ่มคุณประโยชน์ Ex: การจัดรูปที่ดิน ปรับปรุงระบบให้ดีขึ้น Ex: เพิ่มความเร็ว – ลดขั้นตอน – ลดข้อผิดพลาด ปรับปรุงสภาพแวดล้อม Ex: การสร้างอ่างเก็บน้ำ

การค้นหาข้อสรุป – ขอบเขตของปัญหา ผ่านความเป็นไปได้ในประเด็นหลักดังนี้ Feasibility Study : การค้นหาข้อสรุป – ขอบเขตของปัญหา ผ่านความเป็นไปได้ในประเด็นหลักดังนี้ ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility) ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) ความเป็นไปได้ทางการเมือง (Political Feasibility) ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) ความเป็นไปได้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Feasibility) ความเป็นไปได้ทางสังคม (Social Feasibility) ความเป็นไปได้ทางวัฒนธรรม (Cultural Feasibility)

การวางแผน – การควบคุมการดำเนินการ Implementation Planning – Monitoring

Implementation Planning – Monitoring : การกำหนดขั้นตอน Ex: วิธีการ / การประสานงาน / การสร้างความเข้าใจ การควบคุม (Control) : การกำหนดแนววิธีการตรวจสอบการดำเนินการ Ex: รายงานรายไตรมาส / การลงพื้นที่ / ระบบ IT การกำหนดเวลา (Project Scheduling) : การกำหนดช่วงเวลาการดำเนินการทั้งหมด Ex: Gantt Charts / Pert – CPM

เทคนิคการเขียนโครงการพัฒนา แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ Logical – Framework

Logical – Framework : เป็นเทคนิคการเขียนแผนโครงการที่ สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของทุกขั้นตอน อย่างเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน มีรายละเอียดวิธีการปฏิบัติ ในแต่ละรายกายให้เห็นชัดเจน ง่ายต่อการวิเคราะห์ – ประเมินผล

Logical – Framework : หลักในการทำ Log – Frame พิจารณาโครงการอย่างเป็นระบบ เปรียบเทียบค่าใช้จ่าย – สัมฤทธิผล อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ บนฐาน คิดที่เป็นเหตุ – ผล สร้างตารางสรุปเนื้อหา

Logical – Framework : องค์ประกอบของ Log – Frame องค์ประกอบแนวตั้ง : แสดงการดำเนินงาน ๔ ระดับ ระดับนโยบาย (Goal – G) : แสดงจุดมุ่งหมายของนโยบาย ระดับวัตถุประสงค์ (Purpose – P) : แสดงวัตถุประสงค์ ระดับผลงาน (Output – O) : แสดงผลผลิตของโครงการ ระดับปัจจัย (Input – I) : แสดงกิจกรรม – ทรัพยากร

WHY Goals – G Purpose – P Output – O Input – I HOW

Logical – Framework : องค์ประกอบแนวนอน : แสดงรายละเอียดในแต่ละระดับ คำสรุป (Narrative Summary – NS) : สรุปย่อขององค์ประกอบแนวตั้งทั้ง ๔ ระดับ ตัวบ่งชี้ (Objectively Verifiable Indicators – OVI) : ดัชนีชี้วัดความสำเร็จในแต่ละระดับ แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ (Mean of Verifiable – MOV) : วิธีการวัด / แสดงที่มาของแหล่งข้อมูล OVI เงื่อนไขความสำเร็จ (Important Assumption – IA) : ปัจจัย / สภาพที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุของผลสัมฤทธิ์ อย่างเป็นเหตุผล – เป็นไปได้

NS OVI MOV IA Goals Purpose Output Input สิ่งแสดงให้เห็น ความสำเร็จ Quan – Qua – Time แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ สภาพที่ ก่อให้เกิด ผลสำเร็จ Purpose สภาพภายหลัง การดำเนินงาน ตาม Obj. แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ว่า ดำเนินการ บรรลุ Obj. สภาพที่ทำให้ Obj. สัมพันธ์กับ Goals Output สิ่งที่แสดงให้เห็น ผลงานเพื่อ การบรรลุ Obj. แหล่งข้อมูล / วิธีการตรวจสอบ ผลงาน สิ่งที่แสดงความ สัมพันธ์เชิง สนับสนุนระหว่าง ผลงาน – Obj. Input รายการแสดง Resources & Activities Type – Quan แหล่งข้อมูล / วิธีพิสูจน์ วิธีการหา Input – วิธีการดำเนินการ ให้ได้ผลงาน