บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ โดย นางสุมิตรา ดีมี
Advertisements

ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
WEB APPLICATIONS DEVELOPMENT Chap 11 : การสร้างช่องรับข้อมูล 1.
Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s (output slack) X – X  i = e (excess input)
การศึกษาและประยุกต์ใช้หน่วยการสร้างในขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูลเจเมทัล Study of Building-Box in Evolutionary algorithm in multi-objective.
บทที่ 4 การจำลองแบบทางคณิตศาสตร์
Structure Programming
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
ภาษาโปรแกรมเชิงหน้าที่
Formulate Mathematical Model
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Asst.Prof. Dr.Surasak Mungsing
Basic EOQ By Kawinthorn Saicharoen
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
คลังคำศัพท์ PRECALCULUS
STRATEGIC MANAGEMENT การจัดการเชิงกลยุทธ์
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Facility Location Single facility –Weighted scoring (Location factor rating) –Center of gravity model –Load-distance model (cost-based model) –Break even.
สูตรคำนวณตัวแปรตำเนินการ = A1 + A2 * A3 เซล A1, A2 และ A3 เครื่องหมาย + และ * = B3 * 5 /100 เซล B3, เลข 5 และ 100 เครื่องหมาย * และ / = D5:D10 เซล.
การบริหารโครงการโดยวิธีการ เชิงปริมาณ ศึกษาเทคนิคและวิธีการเลือก โครงการ บทบาทของผู้จัดการโครงการ การวางแผนโครงการ การจัดลำดับงาน การจัดสรรเวลาและทรัพยากรต่างๆ.
Excel for Business Computer สุริเยนทร์ แดงทองดี เอกสารประกอบการอบรม Excel.
เกี่ยวกับ บริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จำกัด
บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
Thanapon Thiradathanapattaradecha
การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ : 2. ระบบย่อยในการจัดการตัวแบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
13 October 2007
MATLAB Week 2.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
Asst.Prof. Dr.Surasak Mungsing
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
Model Management (การจัดการแบบจำลอง)
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
ปฏิบัติการที่ 10 การหาค่าเหมาะที่สุดโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
สมบัติของเลขยกกำลัง (Properties of Exponent)
เครื่องช่วยในการตรวจการณ์
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม 2562
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างองค์การ โครงสร้างตำแหน่งและโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน บทที่ 4. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
Dr.Surasak Mungsing CSE 221/ICT221 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี Lecture 12: เทคนิคการออกแบบขั้นตอนวิธีตอนวิธี Dynamic.
การประเมินราคา (Cost estimation).
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)

การโปรแกรม (Programming) : การวางแผน เชิงเส้น (Linear) : วิธีการที่ใช้ตัวแบบทางคณิตศาสตร์ ชนิดเชิงเส้น การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming : LP) เป็นเทคนิคเชิงปริมาณที่อาศัยวิธีทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด

วัตถุประสงค์ของ LP 1.Maximize Profit : มุ่งหวังกำไรสูงสุด 2.Minimize Cost : มุ่งหวังต้นทุน หรือค่าใช้จ่ายต่ำสุด

ขั้นตอนของการโปรแกรมเชิงเส้น 1. สร้างตัวแบบของปัญหา 2. แก้ปัญหาของตัวแบบที่สร้างด้วยการหาคำตอบที่ต้องการ

การสร้างตัวแบบของปัญหา 1. การกำหนดตัวแปรของปัญหา 2. การกำหนดสมการเป้าหมาย 3. การสร้างข้อจำกัด 4. การสร้างตัวแปรทุกตัวให้มีค่าไม่ติดลบ

1. การกำหนดตัวแปรของปัญหา X1 = ตัวแปรตัวแรกที่ต้องการทราบ X2 = ตัวแปรที่สองที่ต้องการทราบ X3 = ตัวแปรที่สามที่ต้องการทราบ Xn = ตัวแปรที่ n ที่ต้องการทราบ

2. การกำหนดสมการเป้าหมาย (Objective Function) หาค่าสูงสุด Maximize Max Z หาค่าต่ำสุด Minimize Min Z ( Z คือ ผลรวมของฟังก์ชันเป้าหมาย หรือ ฟังก์ชันวัตถุประสงค์ )

3. สร้างข้อจำกัด (Constraints) โดยเขียนให้อยู่ในรูป อสมการ < , > , < , > a11x1 + a12x2 +….a1nxn > = < bi

4. สร้างตัวแปรทุกตัวให้มีค่าไม่ติดลบ (Non Negativety Restriction) กำหนดว่าตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ จะเป็นลบไม่ได้ X1 , X2 ,…,Xn > 0

โครงสร้างรูปแบบของกำหนดการเชิงเส้น ฟังก์ชันเป้าหมายเชิงเส้น (linear objective function) ข้อจำกัดของปัญหา (functional constraint) non-negativity constraint

สมมุติฐานของตัวแบบกำหนดการเชิงเส้น 1.ความสัมพันธ์เชิงเส้น (Linearity) 2.กำหนดค่าได้แน่นอน (Deterministic) 3.บวกเข้าด้วยกันได้ (Additvity) 4.สามารถแบ่งแยกได้ (Divisbelity) 5.ฟังก์ชันวัตถุประสงค์เดียว (single objective)

ตัวแบบกำหนดการเชิงเส้น ความเป็นสัดส่วน การรวมกันได้ การทราบค่า การแบ่งได้

ตัวอย่างที่ 3.1 บริษัทเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่ง ทำการผลิตโต๊ะ เก้าอี้ ซึ่งมีขั้นตอน 2 ขั้นตอน คือ 1. แผนกประกอบ มีเวลาทำงานไม่เกิน 60 ช.ม. 2. แผนกตกแต่ง มีเวลาทำงานไม่เกิน 48 ช.ม. โต๊ะ 1 ตัว ใช้เวลาประกอบ 4 ช.ม. ตกแต่ง 2 ช.ม. เก้าอี้ 1 ตัว ใช้เวลาประกอบ 2 ช.ม. ตกแต่ง 4 ช.ม. กำไร จากโต๊ะ 1 ตัว 8 บาท เก้าอี้ 1 ตัว 6 บาท จะต้องผลิตโต๊ะและเก้าอี้กี่ตัวในสัปดาห์ จึงจะได้กำไรสูงสุด

2. สมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2 2. สมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2

X1, X2, > 0 3. สร้างข้อจำกัด 2X1 + 4X2 < 48 4. กำหนดให้ตัวแปรทุกตัวมีค่าไม่ติดลบ X1, X2, > 0

ตัวอย่าง 3.2 บริษัทกีฬาพัฒนา เป็นบริษัท ซึ่งผลิตฟุตบอล และลูกบาสเกตบอล โดยในการผลิตลูกฟุตบอล และลูกฟุตบอลใช้วัตถุดิบ 2 ชนิด คือ หนัง และยาง ถ้าผลิตลูกฟุตบอลได้กำไร ลูกละ 16 บาท ลูกบาสเกตบอลได้กำไร ลูกละ 12 บาท และถ้าผลิตได้เท่าใด สามารถขายได้หมด ในสัปดาห์หน้าทางบริษัท มีวัตถุดิบ คือ หนัง 800 ตารางฟุต และยาง 500 กิโลกรัม ในการผลิตลูกฟุตบอล 1 ลูก ใช้ยาง 2 กิโลกรัม และหนัง 5 ตารางฟุต ส่วนการผลิตลูกบาสเกตบอล 1 ลูก ใช้ยาง 3 กิโลกรัม และใช้หนัง 4 ตารางฟุต ทางบริษัทกีฬาพัฒนา ควรผลิตลูกฟุตบอล และบาสเกตบอล อย่างละกี่ลูก เพื่อให้ได้กำไรรวมสูงสุด

ตัวอย่าง 3.3 ปัญหาของการจัดสรรเงินลงทุน ถ้านางกัลยา ได้รับมรดกจากพ่อแม่จำนวน 500,000 บาท นางกัลยา ต้องการนำเงินส่วนนี้ไปลงทุน แต่ในปัจจุบันการลงทุนอย่างใดอย่างหนึ่ง เพียงอย่างเดียว จะเป็นการเสี่ยงเกินไป นางกัลยา ต้องการกระจายความเสี่ยง จึงศึกษาด้านการลงทุน พบว่า ถ้าลงทุน การฝากเงินประจำ จะได้ดอกเบี้ย 4% ซื้อพันธบัตรรัฐบาล ได้ผลตอบแทน 5% ถ้าซื้อหุ้นด้านสื่อสาร คาดว่าจะได้ผลตอบแทน 7% และถ้าซื้อหุ้นด้านพลังงาน คาดว่าจะได้ผลตอบแทน 4.5%

เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง นางกัลยาได้กำหนด ว่า -จะฝากประจำ ไม่เกิน 230,000 บาท -จะลงทุนซื้อพันธบัตรรัฐบาล ไม่เกิน 150,000 บาท -จะลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ไม่เกินเงินที่นำฝากประจำ -จะลงทุนในหุ้นด้านการสื่อสาร ไม่เกิน 120,000 บาท -จะลงทุนในหุ้นด้านพลังงาน ไม่เกิน 220,000 บาท -จำนวนเงินที่ซื้อพันธบัตรรัฐบาล และหุ้นสื่อสาร ไม่เกิน 70% ของเงินนำไปฝากประจำ และหุ้นด้านพลังงาน นางกัลยา ควรจัดสรรเงินลงทุนอย่างไร

โจทย์พิเศษ บริษัทผู้ผลิตแห่งหนึ่งผลิตสินค้า 3 ชนิดออกจำหน่ายโดยจะผลิตสินค้าเกรดเอ อย่างน้อยที่สุด 6,000 ชิ้น สินค้าเกรดบี อย่างมากที่สุด 24,000 ชิ้น และสินค้าเกรดซี ไม่เกิน30,000 ชิ้น ซึ่งบริษัทมีเครื่องจักรที่จะใช้ในการผลิตสินค้าอยู่ 2 ประเภท คือ เครื่องจักรประเภท ก และเครื่องจักรประเภท ข ที่สามารถผลิตสินค้าแต่ละชนิดได้ ดังนี้ รายการสินค้า เครื่องจักรประเภท ก เครื่องจักรประเภท ข เกรดเอ (ชิ้น/เดือน) 75 100 เกรดบี (ชิ้น/เดือน) 200 150 เกรดซี (ชิ้น/เดือน) 200 250 ในการคิดราคาต้นทุนการผลิตและจำหน่าย ประมาณได้ว่าการผลิตสินค้าโดยใช้เครื่องจักร ก จะได้กำไรเฉลี่ยเครื่องละ 87,500 บาท เครื่องจักร ข จะได้กำไรเฉลี่ยเครื่องละ100,000 บาท บริษัทควรใช้เครื่องจักรแต่ละประเภทกี่เครื่องจึงจะทำให้บริษัทได้กำไรมากที่สุด

วิธีทำ. กำหนดให้ X1 = จำนวนเครื่องจักร ประเภท ก วิธีทำ กำหนดให้ X1 = จำนวนเครื่องจักร ประเภท ก X2 = จำนวนเครื่องจักร ประเภท ข สมการเป้าหมาย Max Z = 87,500X1 + 100,000X2 ข้อจำกัด 75X1 + 100X2 > 6,000 200X1 + 150X2 < 24,000 200X1 + 250X2 < 30,000 X1, X2 > 0

การแก้ปัญหาของตัวแปร 1. วิธีกราฟ ใช้ในกรณีที่ตัวแปรมี 2 ตัวเท่านั้น 2. วิธีซิมเพล็ก ใช้หาค่าตัวแปรโดยไม่จำกัด จำนวน

วิธีแก้ปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีกราฟ 1. นำตัวแบบที่สร้างสมบูรณ์แล้วมาพิจารณา 2. กำหนดแกนตั้งและแกนนอนของตัวแปร X1, X2 (แกนตั้ง X2 แกนนอน X1) 3. นำข้อจำกัดทุกข้อ มาหาค่าเพื่อสร้างกราฟ

< > X1 < > X1 < > X1 4. หาบริเวณพื้นที่คำตอบที่เป็นไปได้ ภายใต้เงื่อนไขทุกข้อ X2 X2 X2 < > X1 < > X1 < > X1 5. หาค่าที่ดีที่สุด ภายใต้เป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ (Optimal Solution)

สมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2

2X1 + 4X2 < 48 X1, X2, > 0 2. สร้างแกนของกราฟ ข้อกำหนดของตัวแปรมีค่าไม่ติดลบ X1, X2, > 0 2. สร้างแกนของกราฟ โดยให้ X1 (โต๊ะ) แทนแกนนอน X2 (เก้าอี้) แทนแกนตั้ง X2 X1

3. นำข้อจำกัดมาหาค่าเพื่อสร้างกราฟ 3.1 4X1 + 2x2 < 60 ถ้า X1 = 0 ; 4(0) + 2X2 = 60 X2 = 30 ถ้า X2 = 0 ; 4X1 + 2 (0) = 60 X1 = 15

3.2 2X1 + 4X2 < 48 ถ้า X1 = 0 ; 2(0) + 4X2 = 48 X2 = 12

4X1 + 2X2 < 60 2X1 + 4X2 < 48 X2 X1 (0,30) A (0,12) E C (24,0) X1 C (24,0) B (15,0)

4X1 + 2X2 < 60 2X1 + 4X2 < 48 X2 D (12,6) X1 (0,30) A (0,12) E X1 C (24,0) B (15,0)

4. หาจุดตัดของสมการ ที่ จุด D 4X1 + 2X2 = 60 ..…. 1 2X1 + 4X2 = 48 …... 2 2 x 1 8X1 + 4X2 = 120 …... 3 3 - 2 6X1 = 72 X1 = 12

แทนค่า X1 = 12 ในสมการที่ 1 4(12) + 2X2 = 60 48 + 2X2 = 60 X2 = 6 จุด D คือ (12 , 6)

5. เลือกค่าที่ดีที่สุด (Optimal Solution) นำจุดมุมทุกจุดที่อยู่ในพื้นที่คำตอบแทนค่าในสมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2 จุด E (0,12) = 8(0) + 6(12) = 72 D (12,6) = 8(12) + 6(6) = 132 B (15,0) = 8(15) + 6(0) = 120 O (0,0) = 8(0) + 6(0) = 0 ที่ จุด D : X1 = 12 , X2 = 6 ให้ค่า Z สูงสุด = 132

สรุป ผลิตโต๊ะ X1 = 12 ตัว/สัปดาห์ ผลิตเก้าอี้ X2 = 6 ตัว/สัปดาห์ จะได้กำไรสูงสุด = 132 บาท/สัปดาห์

ตัวอย่าง 3.4 บริษัท Pen-Pencil ผลิตดินสอ และปากกาออกจำหน่าย ดินสอได้กำไรแท่งละ 4 บาท ปากกาได้กำไร 6 บาท ในการผลิตปากกา และดินสอต้องใช้วัตถุดิบ 2 ชนิด (A, B) ดินสอ 1 แท่ง ใช้วัตถุดิบ A จำนวน 1 หน่วย วัตถุดิบ B จำนวน 6 หน่วย ปากกา 1 แท่ง ใช้วัตถุดิบ A จำนวน 2 หน่วย วัตถุดิบ B จำนวน 4 หน่วย ถ้าในสัปดาห์หน้าทางบริษัทมีวัตถุดิบ A เพียง 8 หน่วย และมีวัตถุดิบ B เพียง 24 หน่วย บริษัทควรวางแผนการผลิตอย่างไร เพื่อให้ได้กำไรสูงสุด