แนวทางการติดตามและประเมินผล โครงการที่ได้รับการสนับสนุน จากกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ในพ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546
กลไกของการบริหารจัดการ กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการบริหารกองทุนระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯ คณะกรรมการบริหารกองทุน คณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุน
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนฯ รายงานผลการปฏิบัติงาน ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ มีอำนาจเรียกเอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ จากบุคคล หรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจงข้อเท็จจริงเพื่อประกอบการพิจารณาประเมินผลได้
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล มีอำนาจกำหนดแนวทางติดตามประเมินผล การดำเนินงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมในภาพรวม และโครงการที่ได้รับการสนับสนุนเงินจากกองทุนฯ กำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงการต้นแบบระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ
แนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กองทุนในภาพรวม การติดตามภาพรวมการใช้จ่ายเงินตามยุทธศาสตร์สวัสดิการสังคม การติดตามประสิทธิภาพกลไกระดับชาติ จังหวัด ท้องถิ่น การติดตามการใช้จ่ายเงินโครงการที่ขอรับการสนับสนุน ทั้งระบบปกติ ระบบกระจาย
แนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กองทุนในภาพรวม การสนับสนุน สร้างระบบสวัสดิการจากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ฐานปัญหา ฐานทรัพยากรในระดับชุมชน การเผยแพร่และขยายผลรูปแบบที่ได้รับการคัดเลือกเป็นโครงการต้นแบบในระดับต่าง ๆ
พัฒนาการของการติดตามผลโครงการฯ การพิจารณาภาพรวมของการใช้จ่ายเงินกองทุนในระดับชาติ การพิจารณาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกองทุนผ่านระบบกระจาย การพิจารณาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของโครงการต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ
พัฒนาการของการติดตามผลโครงการฯ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของหน่วยงานที่เป็นผู้ขอรับเงินสนับสนุน องค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรสวัสดิการชุมชน
พัฒนาการของการติดตามผลโครงการฯ การติดตามโครงการที่ขอรับการสนับสนุน เป้าหมายการทำงาน การใช้จ่ายเงินตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด การสื่อสารสาระสำคัญของกองทุนฯต่อผู้ขอรับทุน การติดตามรวบรวมหลักฐานเอกสารโครงการ ตามที่ สตง.กำหนด การติดตามผลหลังสิ้นสุดโครงการ การพัฒนาความต่อเนื่อง/ความยั่งยืนของโครงการ
การคัดเลือกโครงการของคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผลฯ การเยี่ยมโครงการในส่วนภูมิภาค ทุกภูมิภาค ภาคละ 2-3 จังหวัด ประมาณปีละ 8-10 จังหวัด หลักเกณฑ์ในการออกเยี่ยมโครงการและสำนักงาน พมจ. โครงการขนาดใหญ่ โครงการที่ขอรับทุนแต่ไม่ได้รับการพิจารณา โครงการที่ได้รับสนับสนุนเงินอย่างต่อเนื่อง โครงการที่หลักฐานเอกสารไม่ครบสมบูรณ์ โครงการที่การดำเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กองทุนฯ โครงการที่มีความเสี่ยง
การติดตามการกระจายเงินทุนอย่างเป็นธรรมตามประเภทสวัสดิการสังคม 1.สวัสดิการสังคม 7 ด้าน การบริการสังคม การศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยู่อาศัย อาชีพ รายได้ กระบวนการยุติธรรม นันทนาการ
การติดตามการกระจายเงินทุนอย่างเป็นธรรมตามประเภทสวัสดิการสังคม 2.การอนุรักษ์ ฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี 3.การรักษาสิ่งแวดล้อม 4.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 5.ประเด็นสวัสดิการกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ คนไร้ที่พึ่ง ฯลฯ ชุมชน ระบบสวัสดิการของชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่
การติดตามการกระจายเงินทุนอย่างเป็นธรรมตามประเภทสวัสดิการสังคม 6.การพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย การมีส่วนร่วมของทรัพยากรในระดับต่าง ๆ 7.การพัฒนากลไก มาตรการ ที่เกี่ยวข้อง 8.การพัฒนาและเสริมความเข้มแข็งของบุคลากร พนักงานกองทุน คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 9.การพัฒนาความสัมพันธ์ในการร่วมกันทำงาน
แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุนฯ ติดตามความคืบหน้าของการดำเนินโครงการที่ได้รับเงินกองทุนฯ และประเมินผลโครงการภายหลังสิ้นสุดโครงการ ตรวจสอบว่าองค์กรสวัสดิการสังคมได้ดำเนินการตามเงื่อนไขของคณะอนุกรรมการ/ คณะกรรมการบริหารกองทุน และสัญญารับเงินอุดหนุนตามกำหนดหรือไม่
แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุนฯ ตรวจสอบระบบการดำเนินงานกองทุนฯ ตรวจสอบหลักฐานการเงินของโครงการฯ การให้คำแนะนำทางบัญชีการเงิน โดยกลุ่มงานติดตามและประเมินผลกองทุน สำนักงาน กสค. บูรณาการการทำงานติดตามประเมินผลโครงการร่วมกับคณะอนุกรรมการ สำนักงาน พมจ.
แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลกองทุนฯ ติดตามผลโครงการตามข้อตกลงกับกรมบัญชีกลาง เช่น พื้นที่ที่ไม่สามารถส่งหลักฐานการเงินได้ หรือโครงการนั้นเป็นโครงการระยะสั้น ที่ดำเนินงานเสร็จไปแล้ว และสามารถประเมินผลสำเร็จทั้ง output, outcome และ impact
สถานการณ์ปัญหา ขัอแนะนำ ที่เกิดขึ้นจากการติดตามประเมินโครงการ การติดตามผลโครงการจากจังหวัด ไม่มีแผนติดตามที่ชัดเจน เป็นระบบ ขาดการกระตุ้นให้ผู้รับผิดชอบโครงการ ติดตามประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ โครงการควรมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์จังหวัด การสื่อสารและชี้แจงถึงระเบียบปฏิบัติของกองทุนต่าง ๆ ให้ชัดเจน
สถานการณ์ปัญหา ขัอแนะนำ ที่เกิดขึ้นจากการติดตามประเมินโครงการ การสนับสนุนโครงการ ควรพิจารณาถึงความต่อเนื่องและผลที่เกิดขึ้นต่อระบบสวัสดิการสังคมของจังหวัดด้วย การจัดองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารกองทุนจังหวัดให้มีองค์ประกอบที่เหมาะสม ทั้งภาครัฐ ท้องถิ่น องค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรภาคประชาสังคม
สถานการณ์ปัญหา ข้อแนะนำ ที่เกิดขึ้นจากการติดตามประเมินโครงการ ควรสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยภาพรวมของระบบสวัสดิการสังคมในจังหวัด เพื่อพัฒนาโครงการที่เหมาะสม การจัดอบรมเกี่ยวกับการเขียนโครงการ และการจัดทำรายงานหลังสิ้นสุดโครงการ เพื่อ พมจ.จะได้เห็นภาพรวมที่เกิดขึ้นของผลสัมฤทธิ์ด้านสวัสดิการสังคม
ขอบพระคุณมากค่ะ