สารเคมีในสิ่งมีชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
กลุ่มงานการบริการผู้ป่วยนอก งานบริการสุขภาพปฐมภูมิ
เสนอ อ.สุพิน ดิษฐสกุล.
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
Nickle.
ชื่อ นาย ศุภสุข โตฟาเละ รหัส 00352
นักโภชนาการน้อย.
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
อาหารหลัก 5 หมู่.
โครเมี่ยม (Cr).
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัด อุทัยธานี เรื่อง น้ำเต้าหู้ไซ้จันทร์ จัดทำโดย 1. นางสาว จิตติมา หรือสมบูรณ์ เลขที่ 21 ชั้น 6/2 2. นางสาว ชุติกาญจน์
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
โมเมนต์ของแรง คำถาม  ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุหมุน
การดูดซึมอาหาร รศ.พญ.ดวงพร ทองงาม.
ไขมัน(Lipid) เป็นสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ประกอบไปด้วยธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน สามารถแยกได้เป็นกรดไขมัน และกลีเซอรอล เป็นสารอาหารที่ร่างกายสร้างขึ้นและได้รับจากอาหาร.
Carbohydrate and Polynucleotide
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
การจำลองตัวเองของ DNA (DNA replication)
เคมีในอาหาร 1.
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE.
สารชีวโมเลกุล คือ สารชีวโมเลกุล
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
บทที่ 2 โปรตีน.
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE II.
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
การรักษาดุลภาพของเซลล์
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
วิชา ECE 1406 อาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
Nutritional Biochemistry
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
คุณภาพผักและผลไม้ คุณภาพผักและผลไม้.
โดย ครูสุดารัตน์ คำผา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment)
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) บทที่ 10 สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
Chemistry Introduction
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - PHOSPHOLIPID METABOLISM
คุณลักษณะของน้ำพลังแมกเนติก
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แบ่งเป็น 4 เรื่อง
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
CARBOHYDRATE METABOLISM
การคำนวณสารตามที่กฎหมายประกาศกำหนด
ระบบย่อยอาหาร.
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ชีวโมเลกุล.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารเคมีในสิ่งมีชีวิต โมเลกุล เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบร่างกาย เล็ก ใหญ่

สารอาหาร สารอาหาร คือ สารเคมีองค์ประกอบในอาหารที่มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิต มีด้วยกัน 6 ชนิด คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และน้ำ

การจำแนกประเภทสารอาหาร แบ่งตามสารอินทรีย์ คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน กับสารอนินทรีย์ คือ เกลือแร่ น้ำ แบ่งตามการให้พลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน กับไม่ให้พลังงาน คือ วิตามิน เกลือแร่ น้ำ โปรตีน และ คาร์โบไฮเดรตให้พลังงานเท่ากัน คือ 4 kcal/g ส่วนไขมันให้พลังงาน 9 kcal/g

Polymer Polymer คือสารที่เกิดจากหน่วยย่อยซ้ำๆ (monomer) มาสร้างพันธะเคมี (Covalent bond) กัน เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดนิวคลีอิก

Biomolecule สารชีวโมเลกุล Monomer Polymer Covalent bond คาร์โบไฮเดรต Monosaccharide Polysaccharide Glycosidic bond โปรตีน Amino acid Polypeptide Peptide bond กรดนิวคลีอิก Nucleotide Polynucleotide Phosphodiester bond