ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
อนุภาค โมเลกุล อะตอม ไอออน 6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โครเมี่ยม (Cr).
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ไฟฟ้า.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
Material requirements planning (MRP) systems
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
ระดับความเสี่ยง (QQR)
BLSC, Department of Livestock Development
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
ไฟฟ้า.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปฏิกิริยาเคมี ครูปฏิการ นาครอด.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง ระบบดับเพลิง และการตั้งกระป๋องน้ำมัน ถังน้ำมัน และถังเก็บน้ำมันขนาดเล็ก ไว้ในอาคารเก็บน้ำมันโดยเฉพาะที่มีระบบดับเพลิง พ.ศ.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
แผ่นดินไหว.
Chemistry Introduction
เบส (Base) • สารที่ทําปฏิกริ ิยากบั กรดแล้วได้เกลอื • มีรสฝาด หรือ ขม
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
มลภาวะของอากาศ(Air pollution)
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction) กระบวนการที่เกิดจากการที่สารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสารใหม่ขึ้นมาซึ่งมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม การเกิดปฏิกิริยาเคมีจำเป็นต้องมีสารเคมีตั้งต้น 2 ตัวขึ้นไป (เรียกสารตั้งต้นเหล่านี้ว่า "สารตั้งต้น" หรือ reactant)ทำปฏิกิริยาต่อกันและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในคุณสมบัติทางเคมี ซึ่งก่อตัวขึ้น มาเป็นสารใหม่ที่เรียกว่า "ผลิตภัณฑ์" (product) ซึ่งสารผลิตภัณฑ์มีคุณสมบัติทางเคมีที่เปลี่ยนไปจากเดิม

ดังนี้ แสดงการเปลี่ยนแปลง ไปข้างหน้า แสดงการเปลี่ยนแปลง ย้อนกลับ หลักการเขียนสมการเคมี เขียนสูตรหรือสัญลักษณ์ : แทนสารตั้งต้น (reactant) ไว้ทางซ้ายมือ ถ้ามากกว่า 1 ชนิดให้ใช้เครื่องหมาย + ระหว่างสาร (เพื่อแสดงว่าสารนั้นทำปฏิกิริยากัน) แล้วเขียน แสดง การเปลี่ยนแปลง เขียนสูตรหรือสัญลักษณ์แทนผลิตภัณฑ์ (product) ไว้ทางขวามือ หมายเหตุ : ลูกศร ( ) เขียนต่อจากสูตรสารตั้งต้น แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง 2 ลักษณะ ดังนี้ แสดงการเปลี่ยนแปลง ไปข้างหน้า แสดงการเปลี่ยนแปลง ย้อนกลับ สูตรเคมี คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ที่แสดงธาตุองค์ประกอบของสารในโมเลกุล

ระบุสถานะของสารไว้ในวงเล็บหลังสูตร โดยใช้สัญลักษณ์ดังนี้ (s) = ของแข็ง (solid) (l) = ของเหลว (liquid) (g) = แก๊ส (gas) (aq) = สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย (aqueous solution)

ปฏิกิริยาเคมีแบ่งออกได้ 5 ชนิด ปฏิกิริยาเคมีแบ่งออกได้ 5 ชนิด 1. ปฏิกิริยาการรวมตัว A +Z → AZ C(s) + O2 (g) → CO2(g) 2. ปฏิกิริยาการสลายตัว AZ → A +Z CaCO3(s) → CaO(s) + CO2(g) 3. ปฏิกิริยาการแทนที่ A + BZ → AZ + B 2Fe(s) + 3H2O (l) → Fe2O3(s) + 3H2(g) 5. ปฏิกิริยาสะเทิน HX+BOH → BX + HOH HCl (aq) + KOH (aq) → KCl(aq) + H2O (l)

ข้อสังเกตการเกิดปฏิกิริยา 1. สี เช่น สารเดิมไม่มีสีเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีสีใหม่เกิดขึ้น (สารใหม่) 2. กลิ่น เช่น เกิดกลิ่นฉุน กลิ่นเหม็น กลิ่นหอม 3. ตะกอน เช่น สารละลายเลด (II) ไนเตรต และโพแทสเซียมไอโอไดด์ เป็นของเหลวใส ไม่มีสี เมื่อผสมกันแล้วเกิดตะกอนสีเหลือง 4. ฟองแก๊ส เช่น กรดไฮโดรคลอริก ผสมกับหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตเกิดฟองแก๊สขึ้น 5. เกิดการระเบิด หรือเกิดประกายไฟ เช่น ใส่โลหะโซเดียมลงในน้ำจะเกิดประกายไฟขึ้น 6. มีอุณหภูมิเปลี่ยน ซึ่งสารโดยทั่วไปเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกิดการเปลี่ยนแปลง พลังงาน ความร้อนควบคู่ไปด้วยเสมอ

ปฏิกิริยาเคมีที่ควรทราบมีดังนี้ 1. ปฏิกิริยาระหว่างธาตุโลหะหรืออโลหะกับก๊าซออกซิเจนหรือปฏิกิริยาการเผาไหม้ (combustion reaction) ธาตุโลหะหรืออโลหะเมื่อสัมผัสกับอากาศหรือเมื่อถูกความร้อนจะทำปฏิกิริยากับก๊าซออกซิเจนในอากาศ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบออกไซด์

2. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด โลหะที่ใช้เป็นเครื่องมือและเครื่องใช้ เช่น ตะปูเหล็ก มีด จอบ หลังคาสังกะสี เป็นต้น เมื่อถูกกรดจะเกิดการผุกร่อนได้ก๊าซไฮโดรเจน ทำให้เครื่องมือเครื่องใช้ชำรุดเสื่อมสภาพมีอายุการใช้งานสั้นและสิ้นเปลื้องเงินทองเพิ่มขึ้น

3. ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบคาร์บอเนตกับกรด สารประกอบคาร์บอเนตที่พบในชีวิตประจำวันส่วนใหญ่ คือ หินปูนหรือหินอ่อน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต สารประกอบคาร์บอเนตเมื่อสัมผัสกับสารละลายกรดจะได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำเป็นผลิตภัณฑ์ขึ้นอีกด้วย

4. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส สารละลายกรดทำปฏิกิริยากับสารละลายเบสได้เกลือกับน้ำ ปฏิกิริยานี้เรียกว่า “ปฏิกิริยาสะเทิน (Neutralization)”

5. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับน้ำ โลหะบางชนิดไม่เหมาะสำหรับใช้เป็นท่อส่งน้ำ เพราะโลหะนั้นจะเกิดปฏิกิริยากับน้ำ ทำให้เกิดสนิมปนเปื้อนในน้ำประปา ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นเรียกว่า โลหะ-ไฮดรอกไซด์หรือโลหะออกไซด์ โดยจะเกิดก๊าซไฮโดรเจนร่วมด้วย

6. ปฏิกิริยาระหว่างธาตุโลหะกับก๊าซออกซิเจนและน้ำ จะเกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ที่เป็นสนิม ทำให้โลหะเกิดการผุกร่อนได้

7. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง ทางปฏิกิริยาเคมี โดยปกติทั่วไปแล้วการเผาไหม้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อเชื้อเพลิงเกิดการออกซิเดชั่นกับอากาศจะให้ผลผลิตและความร้อนออกมา ดังสมการต่อไปนี้ เชื้อเพลิง + อากาศ ผลผลิต + ความร้อน

• การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ เกิดแล้วได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซต์และน้ำ • การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เกิดจากการเผาไหม้ที่มีปริมาณออกซิเจนไม่เพียงพอ เกิดแล้วได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซต์และเขม่าควัน

ตัวอย่างการเกิดปฏิกิริยาเคมี พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation Energy : Ea) หมายถึง พลังงานจำนวนน้อยที่สุดที่สารเคมีจะต้องสะสมไว้เพื่อเปลี่ยนสารตั้งต้นไปเป็นสารใหม่ระหว่างที่อนุภาคมีการชนกัน  ปฏิกิริยาที่มีค่า E ต่ำเกิดง่ายเกิดเร็ว ถ้าค่า E สูงจะเกิดยากเกิดช้า  ซึ่งสารแต่ละชนิดจะมีพลังงานก่อกัมมันต์ไม่เท่ากัน “หลังจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีอะตอมทั้งหมดของสารตั้งต้นไม่มีการสูญหายไปไหนแต่เกิดการแลกเปลี่ยนจากสารหนึ่งไปสู่อีกสารหนึ่ง ซึ่งจะเห็นได้จากผลรวมของอะตอมของสารตั้งต้นจะเท่ากับผลรวมของอะตอมของผลิตภัณฑ์ ”

การเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดปฏิกิริยาเคมี มี 2 ประเภท คือ ก. ปฏิกิริยาคายความร้อน (exothermic reaction) คือปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้วให้พลังงานความร้อนออกมา แก่สิ่งแวดล้อม เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง การเผาผลาญอาหารในร่างกาย ข. ปฏิกิริยาดูดความร้อน (endothermic reaction) คือปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้ว ดูดความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเข้าไป ทำให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิลดลง