โดย สมพิศ จันทรเมฆินทร์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แสดงให้คุณ SLIDEPLAYER.IN.TH
Advertisements

คณะบัญชี การเงินและการธนาคาร มหาวิทยาลัยพายัพ
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
มาตรฐานการควบคุมภายใน
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
การติดตาม ประเมินผล สัมมนา กอ. รมน. ภาค 3 ( เมษายน 59 ) ณ โรงแรมเวียง ทอง ล. ป.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
ดร.เกศรี วิวัฒนปฐพี การสร้างเครือข่าย
COSO Frameworks and Control Self-Assessment
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
Market System Promotion & Development Devision
บทที่ 14 พัลส์เทคนิค
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
คู่มือคุณภาพ Quality Manual
เครื่องจักรในปฏิบัติงาน Work Shop
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
การบริหารจัดการในชั้นเรียน (Classroom Management)
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
บทสรุป การออกแบบฟอร์ม
แนวทางการจัดทำรายงาน
แนวทางการปฏิบัติงานสอบบัญชี ปี 2561
ITA Integrity and Transparency Assessment
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
ลักษณะทั่วไปของคำในภาษาไทย
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
การจัดการระบบฐานข้อมูล
หลักการสัมมนา ความหมาย เป้าหมายและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบของการสัมมนา.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
การประชุม โครงการบูรณาการข้อมูลกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 19
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
นโยบายเร่งด่วน ของ ผบ.ตร.
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
มาตรฐานสำหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า Standard of Power System Design
การบริหารจัดการในชั้นเรียน (Classroom Management)
การปรับโครงสร้างและอัตรากำลัง ของกรมการข้าว
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ทางการบัญชี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย สมพิศ จันทรเมฆินทร์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7 แนวทางการจัดทำงานรายงานการควบคุมภายใน ระดับส่วนงานย่อยและระดับหน่วยรับตรวจ โดย สมพิศ จันทรเมฆินทร์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7

เนื้อหาการนำเสนอ การปรับปรุงแบบการรายงาน แนวทางการประเมินผลการควบคุมภายใน การจัดส่งรายงานให้ สตง. รูปแบบรายงาน

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ข้อ 5 - ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายในให้ แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่ระเบียบใช้บังคับ (27 ต.ค. 2544) - รายงานความคืบหน้าทุก 60 วัน ข้อ 6 - ประเมินการควบคุมภายในและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยปีละ หนึ่งครั้ง - ภายใน 90 วัน จากวันสิ้นปีงบประมาณ หรือปีปฏิทิน 3

1. ปรับลดแบบฟอร์มและรูปแบบการรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 การปรับปรุง 1. ปรับลดแบบฟอร์มและรูปแบบการรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 หน่วยรับตรวจ เดิม ทำ ส่ง ใหม่ 1. ปอ.1 ความเห็นการควบคุมฯ 2. ปอ.2 สรุปผลประเมินองค์ประกอบ 3. ปอ.2-1 ผลประเมินองค์ประกอบ 4. ปอ.3 แผนปรับปรุงการควบคุมฯ 5. ติดตาม ปอ.3 ติดตามแผนปรับปรุง  - 1. ปอ.1 หนังสือรับรองการประเมิน 2. ปอ.2 ผลการประเมินองค์ประกอบ 3. ปอ.3 แผนปรับปรุงการควบคุมฯ

ส่วนงานย่อย เดิม ทำ ส่ง ใหม่ 1. ปย.1 รับรองการควบคุมฯ 1. ปย.1 รับรองการควบคุมฯ 2. ปย.2 สรุปผลประเมินองค์ประกอบ 3. ปย.2-1 ผลประเมินองค์ประกอบ 4. ปย.3 แผนปรับปรุงการควบคุมฯ 5. ติดตาม ปย.3 6. ปม. ประเมินการควบคุมฯ  - 1. ปย.1 ผลการประเมินองค์ประกอบฯ 2. ปย.2 การประเมินผลและการ ปรับปรุงการควบคุมฯ

เจ้าหน้าที่อาวุโสและผู้ตรวจสอบภายใน เดิม ทำ ส่ง ใหม่ 1. ปย.1-ร หนังสือรับรองการควบคุม ภายในของเจ้าหน้าที่อาวุโส 2. ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมของผู้ตรวจสอบภายใน  - 1. - 2. ปส. รายงานผลการสอบทานการ ประเมินการควบคุมของผู้ ตรวจสอบภายใน

การปรับปรุง (ต่อ) 2. การรายงานตามระเบียบ ข้อ 5 เดิม ทำ ส่ง ใหม่ 1. ค.1 ความคืบหน้าการจัดวางระบบฯ (องค์กร) 2. ค.2 ความเสี่ยงและกิจกรรมควบคุม (ย่อย) 3. ค.3 แผนปรับปรุงการควบคุม (ย่อย) 4. ค.4 แผนปรับปรุงการควบคุม (องค์กร)  - 1. หนังสือรับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายใน

การปรับปรุง (ต่อ) 3. ปรับเนื้อหาและรูปเล่มให้มีความกะทัดรัดขึ้น รวมทั้งปรับหนังสือรับรองฯ ให้มีความกระชับมากขึ้น 4. เปิดให้หน่วยที่มีการประเมินผลการควบคุมภายในของตนเองใช้ สามารถประเมินผลการควบคุมภายในตามที่ปฏิบัติ และทำหนังสือรับรองการประเมินฯ ส่งฉบับเดียว 5. หน่วยงานย่อยภายใต้สังกัดที่มีโครงสร้างการบริหารเป็นอิสระจากหน่วยต้นสังกัด การจัดทำรายงานถือเสมือนเป็นหน่วยรับตรวจ

การประเมินผลการควบคุมภายในหน่วยรับตรวจ ตามแนวทางของ สตง. ประเมินผลระดับส่วนงานย่อย ประเมินผลกิจกรรม พิจารณาห้าองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน ประเมินผลระดับหน่วยรับตรวจ ใช้ผลการประเมินส่วนงานย่อย และประเมินเพิ่มเติม เพื่อสรุปภาพรวมหน่วยงาน

การดำเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ 2. กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์การประเมิน 3. ศึกษา ทำความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน 4. จัดทำแผนการประเมิน 5. ดำเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน 6. สรุปผล และจัดทำรายงานการประเมิน

1. กำหนดผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสหรือคณะทำงาน 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสหรือคณะทำงาน ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติระดับส่วนงานย่อย ผู้ตรวจสอบภายใน

1. กำหนดผู้รับผิดชอบ (ต่อ) 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ (ต่อ)  จัดทำรายงานระดับ ส่วนงานย่อย

2. กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์การประเมิน 2. กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์การประเมิน ประเมินทั้งระบบ/บางส่วน/งานที่มีความ เสี่ยงสูง ประเมินเพื่อต้องการทราบสิ่งใด  ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดำเนินงาน  ความถูกต้อง น่าเชื่อถือของรายงานการเงิน  การปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ฯลฯ

ศึกษาทำความเข้าใจโครงสร้าง การควบคุมภายใน รูปแบบระบบการควบคุมภายในตามที่ออกแบบไว้ ทำงานจริง ทำอย่างไร สอบถาม / สัมภาษณ์ / ศึกษาเอกสาร สรุปผลการศึกษา

4. จัดทำแผนการประเมิน  เรื่องที่จะประเมิน  วัตถุประสงค์การประเมิน 4. จัดทำแผนการประเมิน  เรื่องที่จะประเมิน  วัตถุประสงค์การประเมิน  ขอบเขต  ผู้ประเมิน  ระยะเวลา  วิธีประเมิน  เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้

5. ดำเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน 5. ดำเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน โดยการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) ลักษณะการประเมินที่ทำร่วมกันระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในสายงานนั้น

5. ดำเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) 5. ดำเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) CSA เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ รูปแบบ CSA มีหลายรูปแบบ เช่น แบบประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การออกแบบสอบถาม และแบบสำรวจการควบคุมภายใน (การสำรวจข้อมูล) โดยทั่วไปอาจใช้หลายรูปแบบผสมกันตามที่เห็นสมควร

6. สรุปผลและจัดทำเอกสารการประเมิน 6. สรุปผลและจัดทำเอกสารการประเมิน ส่วนงานย่อย วิเคราะห์ ความมีอยู่ ความเพียงพอ ประสิทธิผล การควบคุมจากผลการประเมิน เสนอวิธีการปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่อง จุดอ่อน จัดทำรายงาน ส่ง เจ้าหน้าที่อาวุโส/คณะทำงาน 1. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน – ปย.1 2. รายงานการประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน – ปย.2

6. สรุปผลและจัดทำเอกสารการประเมิน (ต่อ) 6. สรุปผลและจัดทำเอกสารการประเมิน (ต่อ) หน่วยรับตรวจ  รวมผลสรุปส่วนงานย่อยผลการประเมินเพิ่มเติม  ผลการประเมินอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน  วิเคราะห์ เปรียบเทียบ สรุปภาพรวม  จัดทำรายงาน 1. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน – ปอ.1 2. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน – ปอ.2 3. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน – ปอ.3

การจัดส่งรายงานให้ สตง. หนังสือรับรองการประเมินผล การควบคุม ฉบับเดียว รายงานอื่นเก็บไว้ที่หน่วยรับตรวจ

หน่วยรับตรวจที่มีหน่วยงานย่อยภายใต้สังกัด เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล สังกัดกระทรวงศึกษาฯ สาธารณสุข หน่วยงานย่อยทุกแห่งจัดทำรายงาน รวมมาเป็นชั้นๆ เป็นภาพรวมหน่วยงาน แก้ปัญหาโดยให้พิจารณาโครงสร้างการ บริหาร ถ้ามีอิสระจากหน่วยต้นสังกัด รายงานโดยถือเป็นหน่วยรับตรวจ ไม่ต้องส่งมารวมกับหน่วยต้นสังกัด คำแนะนำฉบับเดิม แนวทางฉบับใหม่   

รูปแบบรายงาน ระดับหน่วยรับตรวจ ระดับส่วนงานย่อย ผู้ตรวจสอบภายใน แบบ ปอ. ประเมินองค์กร ระดับส่วนงานย่อย แบบ ปย. ประเมินส่วนงานย่อย ผู้ตรวจสอบภายใน แบบ ปส. ประเมินโดยผู้ตรวจสอบภายใน

รูปแบบรายงานระดับหน่วยรับตรวจ – ปอ. มี 3 แบบ 1. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน – ปอ.1 2. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุม ภายใน – ปอ.2 3. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน – ปอ.3

ปอ.1 แบบรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ปอ.1 แบบรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน  เป็นหนังสือรับรองที่หน่วยรับตรวจรับรองตนเองเกี่ยวกับการควบคุมภายใน เรียน................ ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)......ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่.....เดือน.......พ.ศ.......ด้วยวิธีการที่ ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)......กำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ด้าน................. ...................................................................................................................ซึ่งรวมถึงระเบียบปฏิบัติของฝ่ายบริหาร จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ....................สำหรับปีสิ้นสุดวันที่.....................เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ มีความเพียงพอและบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามที่กล่าวในวรรคแรก __________________ __________________

ปอ.1 แบบรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) ปอ.1 แบบรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ)  ผู้รับรายงาน   วรรคแรก   วรรคสอง   ผู้รายงาน  คตง./ ผู้กำกับดูแล/ คณะกรรมการตรวจสอบ - ระบุชื่อหน่วยงานและงวดเวลาการประเมิน - ขอบเขตการประเมินตามที่หน่วยงานกำหนด สรุปผลการประเมิน เป็นไปตามที่หน่วยงาน กำหนด มีความเพียงพอ และบรรลุ วัตถุประสงค์การควบคุมหรือไม่ เพียงใด หัวหน้าหน่วยรับตรวจ วันที่รายงาน

ปอ.2 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ปอ.2 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ............................ ................................ ....................................... ส่วนหัวรายงาน องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (1) 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม ....................................... 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ผลการประเมิน/ ข้อสรุป (2) ผลการประเมิน ................................................................. .......................................................................................... ชื่อผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน เดือน พ.ศ.

ปอ.2 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ต่อ) ปอ.2 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ต่อ)  ส่วนหัวรายงาน  คอลัมน์ (1)  คอลัมน์ (2)  ด้านล่างแบบ ชื่อหน่วยรับตรวจ ชื่อรายงานอะไร งวดการรายงาน เป็นการระบุข้อมูลสรุปการควบคุมแต่ละองค์ประกอบ ผลการประเมินแต่ละองค์ประกอบ สรุปผลการประเมินองค์ประกอบโดยรวม ผู้ประเมิน ตำแหน่ง วัน/เดือน/ปี ที่รายงาน

ปอ.2 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ต่อ) ปอ.2 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ต่อ) ข้อมูลที่รายงาน ได้มาจาก 1. สรุปผลจากแบบ ปย.1 ของส่วนงานย่อยต่างๆ (รูปแบบเดียวกันกับ ปอ.2 แต่เป็นการประเมินระดับส่วนงานย่อย) 2. การประเมินเพิ่มเติมในระดับองค์กร

แบบสอบถามองค์ประกอบของการควบคุมภายใน  ผู้ประเมินสามารถนำแบบสอบถามองค์ประกอบของการควบคุมภายในมาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในได้ (ภาคผนวก ก หน้า 85 – 96)  เป็นกลุ่มชุดคำถามแต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายใน เพื่อนำไปใช้ในการประเมินการควบคุมภายใน  จัดเตรียมไว้ล่วงหน้า  คำถามตั้งขึ้นตามมาตรฐานของหลักการควบคุมตามแนวคิดว่า เป็นการควบคุมที่ดีและเหมาะสมในองค์ประกอบนั้นๆ

ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ............................. ................................. ........................................ มี 6 คอลัมน์ ส่วนหัวรายงาน กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/ กิจกรรม/ ด้านของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการควบคุม (1) ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ (2) งวด/ เวลาที่ พบจุดอ่อน (3)

ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ)  ส่วนหัวรายงาน  คอลัมน์ (1)  คอลัมน์ (2)  คอลัมน์ (3) ชื่อหน่วยรับตรวจ ชื่อรายงานอะไร งวดการรายงาน ระบุงาน / กิจกรรมหลักที่ประเมินฯพร้อมวัตถุประสงค์ ระบุความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ สรุปมาจาก ปย.2 คอลัมน์(4) (แบบประเมินตนเองของส่วนงานย่อย) เฉพาะความเสี่ยงที่สำคัญ และในส่วนที่พบจากการประเมินเพิ่มเติมระดับองค์กร งวด / เวลาที่พบความเสี่ยงหรือจุดอ่อน

ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) การปรับปรุงการควบคุม (4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) หมายเหตุ (6) ชื่อผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน.......เดือน..........พ.ศ.........

ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) ปอ.3 แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ)  คอลัมน์ (4)  คอลัมน์ (5)  คอลัมน์ (6)  ด้านล่างแบบ รายการปรับปรุงการควบคุมโดยสรุปมาจาก ปย.2 คอลัมน์ (5) เฉพาะที่จะลดความเสี่ยงที่สำคัญที่ระบุไว้ใน คอลัมน์ (2) ของแบบ ปอ.3 ผู้รับผิดชอบในการแก้ไขปรับปรุงและวันที่ดำเนินการเสร็จ ข้อมูลอื่นที่ต้องการแจ้ง ชื่อหัวหน้าหน่วยรับตรวจ ตำแหน่ง วันที่รายงาน

รูปแบบรายงานระดับส่วนงานย่อย – ปย. มี 2 แบบ 1. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - ปย.1 2. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน - ปย.2

ปย.1 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ปย.1 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน  รูปแบบเดียวกันกับ ปอ.2  ข้อมูลที่รายงาน - จากการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ส่วนงานย่อยนั้นๆ

ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน ............................. ................................. ........................................ มี 7 คอลัมน์ ส่วนหัวรายงาน กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/ กิจกรรม/ ด้านของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการควบคุม (1) การควบคุมที่มีอยู่ (2) การประเมินผลการควบคุม (3) ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ (4)

ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ)  ส่วนหัวรายงาน  คอลัมน์ (1)  คอลัมน์ (2)  คอลัมน์ (3)  คอลัมน์ (4) ชื่อส่วนงานย่อย ชื่อรายงานอะไร งวดการรายงาน ระบุงาน / กิจกรรมที่ประเมินพร้อมวัตถุประสงค์ กิจกรรมการควบคุมต่างๆ ที่มีอยู่สำหรับเรื่องที่ประเมินในช่องแรก ประเมินกิจกรรมการควบคุมที่มีตามคอลัมน์ (2) เพียงพอในการบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ หากกิจกรรมควบคุมไม่เพียงพอ/ มีประสิทธิผล ยังมีความเสี่ยงอะไร

ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) การปรับปรุงการควบคุม (5) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (6) หมายเหตุ (7) ชื่อผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน.......เดือน..........พ.ศ.........

ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ)  คอลัมน์ (5)  คอลัมน์ (6)  คอลัมน์ (7)  ด้านล่างแบบ การควบคุมที่ต้องปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ พร้อมวันที่ปรับปรุงเสร็จ ข้อมูลอื่นที่ต้องการแจ้ง ชื่อหัวหน้าส่วนงานย่อย ตำแหน่ง วันที่รายงาน

แบบสอบถามเกี่ยวกับการควบคุมภายใน (Internal Control Questionnaires : ICQ)  ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินโดยประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม (ภาคผนวก ข)  กลุ่มชุดคำถามเกี่ยวกับการควบคุมภายในเฉพาะเรื่อง/ กิจกรรม  จัดเตรียมไว้ล่วงหน้า  กำหนดขึ้นตามมาตรฐานของหลักการควบคุมภายในตามแนวคิดว่าเป็นการควบคุมภายในที่ดีและเหมาะสมสำหรับเรื่องหรือกิจกรรมนั้น

รูปแบบรายงานของผู้ตรวจสอบภายใน – ปส.  รายงานผลการสอบทานการประเมินผล การควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน

ปส. แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน ปส. แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน  เป็นการประเมินการควบคุมอย่างอิสระโดยผู้ตรวจสอบภายใน  เพื่อรายงานผู้บริหารถึงผลการสอบทานการประเมินของหน่วยงานและส่วนงานย่อย เป็นไปตามที่องค์กรกำหนดหรือไม่เพียงใด

ปส. แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) ปส. แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) เรียน (หัวหน้าหน่วยรับตรวจ/ ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยรับตรวจ)   ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ (ชื่อหน่วยรับตรวจ).......สำหรับปีสิ้นสุดวันที่........เดือน...........พ.ศ.........การสอบทาน................................................. .................................................................................................................................................. ....................................................................ภายใน  ชื่อผู้รายงาน ตำแหน่ง วันที่.....เดือน............พ.ศ......... รายงาน............................................ 

ปส. แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) ปส. แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) “รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน” - หัวหน้าหน่วยรับตรวจ - ระบุงวดเวลาการประเมินผลการควบคุมภายในงวดปีใด - ขอบเขตการสอบทาน ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผล ระมัดระวังอย่างรอบคอบ - ผลการสอบทาน - หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน วันที่รายงาน  ชื่อรายงาน   ผู้รับรายงาน   วรรครายงาน  ผู้รายงาน 

การจัดทำและจัดส่งรายงาน สรุปรายงานที่หน่วยรับตรวจต้องจัดทำ และจัดส่ง สตง. ชื่อรายงาน จัดทำ จัดส่ง หน่วยรับตรวจ 1. ปอ.1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน 2. ปอ.2 ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมฯ 3. ปอ.3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ส่วนงานย่อย 1. ปย.1 ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมฯ 2. ปย.2 การประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมฯ ผู้ตรวจสอบภายใน 1. ผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมฯ ของผู้ตรวจสอบภายใน  -

ตัวอย่างรายงาน  ประกอบด้วยตัวอย่างรายงานระดับหน่วยรับตรวจ ระดับส่วนงานย่อย และผู้ตรวจสอบภายใน  กิจกรรมด้าน “ทรัพยากรบุคคล” เหตุผลที่ใช้กิจกรรมนี้เพราะทุกหน่วยงานต้องมี  เพื่อให้ผู้ใช้แนวทางฯ ใช้ศึกษา ทำความเข้าใจ ประกอบการจัดทำรายงาน

วัตถุประสงค์การจัดทำ ตัวอย่างแบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแบบสอบถามการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์การจัดทำ  เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในและประเมินการควบคุมภายในตามกิจกรรมแต่ละด้าน  เพื่อให้ทราบความเสี่ยงทั่วไปที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน  เพื่อให้ทราบความเพียงพอของการควบคุมภายใน  เพื่อใช้ประโยชน์ในการแก้ไข ปรับปรุงการควบคุมภายในต่อไป

ตัวอย่างแบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ภาคผนวก ก  แบ่งเป็น 5 องค์ประกอบ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล  แต่ละองค์ประกอบแยกเป็น หัวข้อหลักและหัวข้อย่อยที่เกี่ยวเนื่องกับหัวข้อหลัก  การนำไปใช้ควรปรับแต่งให้เหมาะสม สอดคล้องกับข้อเท็จจริงและความเสี่ยงของหน่วยงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

ตัวอย่างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ภาคผนวก ข มี 4 ชุด  ชุดที่ 1 แบบสอบถามด้านการบริหาร ประกอบด้วย ภารกิจ กระบวนการปฏิบัติงาน การใช้ทรัพยากร สภาพแวดล้อมของการดำเนินงาน

ตัวอย่างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ภาคผนวก ข (ต่อ) มี 4 ชุด  ชุดที่ 2 แบบสอบถามด้านการเงิน ประกอบด้วย เงินสดและเงินฝากธนาคาร ทรัพย์สิน รายงานการเงิน

ตัวอย่างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ภาคผนวก ข (ต่อ) มี 4 ชุด  ชุดที่ 3 แบบสอบถามด้านการผลิต ประกอบด้วย การวางแผนการผลิต การดำเนินการผลิต การบริหารคลังสินค้า  ชุดที่ 4 แบบสอบถามด้านอื่นๆ ประกอบด้วย การบริหารบุคลากร ระบบสารสนเทศ การบริหารพัสดุ

ตัวอย่างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ภาคผนวก ข (ต่อ) วิธีการใช้ 1. ผู้ประเมินเป็นผู้ถามตามคำถามในแบบ - มีการปฏิบัติตาม ใส่เครื่องหมาย “” ในช่อง “มี/ใช่” - ไม่มีการปฏิบัติตาม ใส่เครื่องหมาย “” ในช่อง “ไม่มี/ไม่ใช่” 2. ผู้ประเมินทดสอบคำตอบโดย การสอบถาม การสังเกตการณ์ การปฏิบัติงานจริง หรือวิเคราะห์จากเอกสารหลักฐานแล้วสรุป ในช่อง “คำอธิบาย/ คำตอบ” 3. พิจารณาประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายในกิจกรรมนั้น

สวัสดีค่ะ การสร้างระบบต้องคำนึงถึง “คน” เป็นอันดับแรก คนสร้างวัฒนธรรมให้กับองค์กร คนดีทำระบบเลวให้ดีขึ้นได้ คนเลวทำระบบดีให้เลวลงได้ ดังนั้น “คน” คือหัวใจสำคัญที่จะผลักดันให้ระบบการควบคุมภายในที่ดีเกิดขึ้นได้ และประสบความสำเร็จ สวัสดีค่ะ