ระเบียบวาระการประชุม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการ เกษตรอย่างยั่งยืน
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
การจัดทำบัญชีตามโครงการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระเบียบวาระการประชุม
ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชน
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบวาระการประชุม การประชุมผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกล (Video Conference) เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการกระทรวงมหาดไทย .................................................................. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2558 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา การดำเนินงานตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชน เพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 ชี้แจงภาพรวมการดำเนินงาน โดยปลัดกระทรวงมหาดไทย ชี้แจงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณและและการทำงานของคณะกรรมการบริหาร ศบกต. และความต้องการของของเกษตรกร โดยผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ชี้แจงปริมาณความต้องการปริมาณความต้องการ และพื้นที่ที่จะรองรับการรับซื้อ โดยผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ ชี้แจงการบูรณการงบการจ้างงาน และสถาบันพัฒนาการก่อสร้าง โดยผู้แทนกระทรวงแรงงาน ชี้แจงบทบาทความร่วมมือของโรงงานในพื้นที่ โดยผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม ชี้แจงการพิจารณางบประมาณ โดยผู้แทนสำนักงบประมาณ ชี้แจงสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. โดยผู้แทนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ กระทรวงมหาดไทย มติที่ประชุม ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ................................................................................................................................... .......................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ กระทรวงมหาดไทย มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2558 คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2558 เห็นชอบโครงการบูรณาการมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบภัยแล้ง เพื่อดำเนินการตาม 8 มาตรการ และให้กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับหน่วยงานเกี่ยวข้องดำเนินการในมาตรการที่ 4 มาตรการเสนอโครงการตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้ง สำรวจความต้องการของชุมชนโครงการพัฒนาอาชีพตามความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้งทั้งในเขตและนอกเขตชลประทาน ชนิดพันธุ์พืชที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกในแต่ละพื้นที่ จัดทำมาตรการและกลไกในการบริหารจัดการ จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ส่งให้คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558/59 เพื่อพิจารณาก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรี ภายใน 30 วัน

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ กระทรวงมหาดไทย มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2558 ดำเนินการตาม 8 มาตรการ 1. มาตรการส่งเสริมความรู้และการสนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน 2. มาตรการชะลอหรือขยายระยะเวลาชำระหนี้ที่เกษตรกรมีภาระหนี้กับสถาบันการเงิน 3. มาตรการจ้างงานเพื่อสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร 4. มาตรการเสนอโครงการตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้ง 5. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ 6. มาตรการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุน 7. มาตรการเสริมสร้างสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 8. มาตรการสนับสนุนอื่นๆ

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ กระทรวงมหาดไทย 8 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร 1. ส่งเสริมความรู้ 2. ชะลอ ชำระหนี้ 3. จ้างงานเพื่อสร้างรายได้ 4. ความต้องการของชุมชน 5. เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ 6. เพิ่มปริมาณน้ำต้นทุน 8. สนับสนุนอื่นๆ 7. เสริมสร้างสุขภาพ ดำเนินการตาม 8 มาตรการ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องเพื่อทราบ กระทรวงมหาดไทย มติที่ประชุม ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ................................................................................................................................... .......................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องการชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของ ชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง 2558/59 กระทรวงมหาดไทย กรอบการดำเนินการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 เป้าหมาย 1.1 น้อมนำหลักการทรงงานเรื่อง “ระเบิดจากข้างใน” ที่ทรงให้ประชาชนเป็นผู้คิดตัดสินใจ และทำด้วยตนเอง 1.2 เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งได้รับการช่วยเหลือจากรัฐบาลโดยคำนึงถึง แผนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) 1.3 สร้างโอกาสในการปรับเปลี่ยนอาชีพและโครงสร้างการผลิตที่เหมาะสม โดยเป็นไป ตามความสมัครใจของประชาชน 1.4 เพื่อเป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย เพื่อให้เกษตรกรสามารถดำรงชีพอยู่ได้ ในช่วงฤดูแล้ง 1.5 ขอความร่วมมือเกษตรกรลดการสูบน้ำในพื้นที่ชุมชนเพื่อทำการเกษตร 1.6 เกษตรกรสามารถดำรงชีวิตผ่านช่วงวิกฤตภัยแล้งไปได้

ขอบเขตประเภทตัวอย่างโครงการ ๑ การจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรของหมู่บ้าน/ชุมชน การจัดทำระบบน้ำหยด พลาสติกคลุมแปลงเพาะปลูก ๒ การผลิตและการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อสร้างรายได้ในฤดูแล้ง การปลูกแตงเมล่อน ถั่วเขียว ถั่วเหลือง แทนการปลูกข้าวนาปรัง ๓ การปรับปรุง ส่งเสริมศักยภาพ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โรงเรือนเกษตร ลานตากพืชผลทางการเกษตร ธนาคารพันธุ์พืช และโครงการพัฒนาดินให้อุ้มน้ำ ๔ การจัดการเพื่อลดความสูญเสียผลผลิตทางการเกษตร ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (เน้นการจัดการด้านวิชาการ ห้ามจัดซื้อสารเคมีกำจัดศัตรูพืช) เศรษฐกิจพอเพียง สร้างแหล่งอาหารในชุมชน ฟาร์มชุมชน โครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง ซอยนี้มีรักปลูกผักแบ่งปัน ๕ ๖ ต่อยอดอาชีพ/พัฒนาอาชีพเดิม การพัฒนาอาชีพและสร้างรายได้ ๗ กลุ่มทำขนม ผลิตสมุนไพร ทำสบู่ น้ำยาล้างจาน อาชีพนอกภาคการเกษตร ทอผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า จักสาน การเย็บผ้ากึ่งอุตสาหกรรม ๘ การจ้างงาน ขุดลอกคูคลอง กำจัดวัชพืช ขุดลอกคลองไส้ไก่

การคัดเลือกพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการให้สอดคล้องกับพื้นที่ โดยต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ ปริมาณน้ำ วิถีชีวิต และเกษตรกร และขอบเขตประเภทตัวอย่างโครงการ ที่ พื้นที่ การคัดเลือกพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการให้สอดคล้องกับพื้นที่ 1. พื้นที่ที่ไม่มีปัญหา เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณน้ำมากเพียงพอ พื้นที่ที่มีเขื่อนมีการเก็บกักน้ำในระดับดีมากหรือดี ไม่มีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง 2. พื้นที่น้ำน้อย พื้นที่น้ำน้อยควรให้การสนับสนุนโครงการให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ด้านการเกษตร และด้านแรงงาน 3. พื้นที่ไม่มีน้ำ พื้นที่ไม่มีน้ำควรให้การสนับสนุนด้านการเกษตร ด้านแรงงาน

การสำรวจความต้องการของชุมชน 1. ค้นหาความต้องการ Demand-side ทีมประเทศไทยระดับตำบล ให้นายอำเภอพิจารณาว่าจะมอบหมาย ที่ทำการปกครองอำเภอ หรือสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรอำเภอ ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานหลักกับหน่วยงานตามองค์ประกอบของทีมประเทศไทยระดับตำบล และผู้แทนหน่วยงานทหารในพื้นที่ โดยนำหลักการประชารัฐ มาเป็นกลไกดำเนินการ 2.ข้อมูลแหล่งน้ำ ใช้ข้อมูลน้ำจากกรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล และ GISTDA (สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) เป็นข้อมูลพื้นฐานการสำรวจความต้องการ และการวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ (โดยหน่วยงานดังกล่าวได้สนับสนุนข้อมูลแหล่งน้ำให้จังหวัดทุกจังหวัดแล้ว 3 ข้อมูลการตลาด

ข้อมูลประกอบการส่งเสริมเกษตรกรในการสร้างรายได้เพิ่มในช่วงภัยแล้ง ชนิดสินค้า ข้อมูลประกอบ ผู้เกี่ยวข้อง เงื่อนไข 1) ถั่วเหลือง ความต้องการ มีความต้องการไม่จำกัด นำเข้าปีละ 1.9 - 2 ล้านตัน ต้นทุนการผลิต 15.22 บาท/กก. ราคารับซื้อ 1) เกรดสกัดน้ำมันถั่วเหลือง กก.ละ 16.25 บาท (ณ กทม.) 15.50 บาท ( ณ ไร่นา) 2) เกรดอาหารสัตว์ กก.ละ 16.50 บาท (ณ กทม.) 15.75 บาท ( ณ ไร่นา) 3) เกรดแปรรูปอาหาร กก.ละ 18.50 บาท (ณ กทม.) 17.75 บาท ( ณ ไร่นา) 1. สมาคมการค้าสินค้าเกษตร และอุตสาหกรรมแปรรูป 2. สมาคมผู้ผลิตน้ำมันถั่วเหลืองและรำข้าว 3. สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 4. สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อเพื่อการ ส่งออก 5. สมาคมผู้ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ 6. สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออก เงื่อนการพิจารณาในการปลูกพืชใช้น้ำน้อยต้องคำนึงถึง 1. เมล็ดพันธุ์พืช 2. ช่วงระยะเวลาในการปลูกให้สอดคล้องกับฤดูกาล กรณีการปลูกพืชน้ำน้อยที่ต้องอาศัยความชื้นของดินจะต้องเร่งปลูกก่อนสิ้นเดือนธันวาคม 2558 3. คุณภาพของผลผลิตของเกษตรกรต้องได้ตามมาตรฐานที่กำหนดรับซื้อ (เช่น ความชื้นของผลผลิตขนาดของผลผลิต เป็นต้น) 2) ถั่ว เขียว ความต้องการ ตลาดสามารถ รับซื้อได้อีกประมาณ 20,000 ตัน (เป็นพื้นที่ เพาะปลูก ประมาณ 170,000 ไร่) ต้นทุนการผลิต ประมาณ 18-19 บาท/กก. ราคา ประมาณ 25 - 30 บาท/กก. สมาคมการค้าสินค้า เกษตรและ อุตสาหกรรมแปรรูป (บริษัทลิ้มศักดากุล อุตสาหกรรมเกษตร (ไทยแลนด์) จก.)

ความต้องการ มีตลาดรองรับ แต่อายุการเก็บรักษาสั้น เน่าเสียเร็ว ชนิดสินค้า ข้อมูลประกอบ ผู้เกี่ยวข้อง เงื่อนไข 3) ถั่วแดงและถั่วดำ ความต้องการ มีความต้องการสูงในการแปรรูปและส่งออก ต้นทุนการผลิต (ถั่วแดงหลวง) 16 บาท/กก. ราคา ถั่วแดง ประมาณ 20-25 บาท/กก. ถั่วแดงหลวงประมาณ 30-40 บาท/กก. ถั่วดำ ประมาณ 18-20 บาท/กก. สมาคมการค้าสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูป (บริษัทลิ้มศักดากุลอุตสาหกรรมเกษตร (ไทยแลนด์) จก.) เงื่อนการพิจารณาในการปลูกพืชใช้น้ำน้อยต้อง คำนึงถึง 1. เมล็ดพันธุ์พืช 2. ช่วงระยะเวลาในการปลูกให้สอดคล้องกับฤดูกาล กรณีการปลูกพืชน้ำน้อยที่ต้องอาศัยความชื้นของดินจะต้องเร่งปลูกก่อนสิ้นเดือนธันวาคม 2558 3. คุณภาพของผลผลิตของเกษตรกรต้องได้ตามมาตรฐานที่กำหนดรับซื้อ (เช่น ความชื้นของผลผลิต ขนาดของผลผลิต เป็นต้น) 4) สินค้าพืชผัก ความต้องการ มีตลาดรองรับ แต่อายุการเก็บรักษาสั้น เน่าเสียเร็ว ราคา ขึ้นอยู่กับชนิดผักและภาวะตลาดเป็นรายวัน 1. ธ.ก.ส. โดย สกต. 2. ตลาดกลางผัก ตลาดไทและศรีเมือง 3. ห้างค้าปลีกฯ 5) กลุ่มพืชสมุนไพร และเครื่องเทศ ความต้องการ ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต/แปรรูปอาหาร ราคา ควรทำความตกลง ราคา กับผู้ซื้อไว้ล่วงหน้า สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป (โรงงานผู้ซื้อที่อยู่ในท้องถิ่นจังหวัด) 6) สินค้า ปศุสัตว์ประมง การเลี้ยงแบบครัวเรือนจะมีขนาดเล็ก เพื่อตลาดในท้องถิ่น/ชุมชน(ไก่พื้นเมือง) สินค้าประมง จะเป็นการเลี้ยงปลาในกระชัง ปลานิล

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาโครงการ กระทรวงมหาดไทย หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาโครงการ ๑ ๖ สถานที่ดำเนินการหากเป็นสถานที่สาธารณะต้องได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่ดูแลหรือหากเป็นสถานที่ส่วนบุคคลต้องมีเอกสารยินยอมให้ใช้สถานที่นั้นๆ กลุ่มบุคคลเป้าหมาย คือ เกษตรกรที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ ๒ เป็นความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชนโดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบ จากหมู่บ้าน/ชุมชนโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงและเหมาะสมกับภูมิสังคม ๗ กรณีที่เป็นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้างต้องมีเอกสารรับรองตามระเบียบของทางราชการ ๓ ๘ . ดำเนินการโดยกลุ่ม/องค์กรเกษตรกรในหมู่บ้าน/ชุมชนและเกิดประโยชน์กับเกษตรกรและประชาชนในชุมชนอย่างทั่วถึง โดยคำนึงถึงการผลิตและการตลาด ไม่ซ้ำซ้อนกับมาตรการ/โครงการของหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ ๔ เป็นโครงการที่ชุมชนสามารถดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องหรือโครงการต่อยอดเดิม ที่มีการดำเนินการแล้วได้ผล ๙ . มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันทีที่มีการอนุมัติ ๕ กรณีจ้างงานให้จ้างแรงงานในหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นหลัก ต้องมีสัดส่วนการจ้างแรงงานไม่น้อยกว่า 50% ของวงเงินที่ได้รับ ยกเว้นกรณีจำเป็นและมีเหตุผลที่สมควรต้องไม่ต่ำกว่า 30% ของงบโครงการ ๑๐ จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามความจำเป็นเร่งด่วนของพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ๑๑ จัดทำโครงการให้คำนึงถึงข้อมูลความต้องการด้านการตลาดทั้งภายในท้องถิ่น ภายในประเทศ การส่งออกไปต่างประเทศ

กรอบเวลาดำเนินการ การดำเนินการ กรอบ ระยะเวลา ระยะเวลาดำเนินการ 1. ชุมชนจัดทำแผนชุมชนและคณะกรรมการกลั่นกรอง โครงการ ระดับอำเภอ 30 วัน 3 พ.ย. – 3 ธ.ค. 58 (กรณี โครงการ/กิจกรรม ที่ต้องการปลูกพืชใช้น้ำน้อย) (12 วัน) (15 พ.ย. 58) 2. จังหวัดพิจารณากลั่นกรอง (คณะกรรมการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งระดับจังหวัด ปี 2558/59) ร่วมกับคณะทำงานขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชน ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2558 และสำนักงบประมาณ เขต 1 - 8 ร่วมพิจารณา (CBO) 15 วัน 4 – 18 ธ.ค. 58 (3 วัน) (18 พ.ย. 58) 3. คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558/59 พิจารณา และเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ให้อยู่ในกรอบวงเงิน 7 วัน 21 - 28 ธ.ค. 58 (5 วัน) (23 พ.ย. 58)

กรอบเวลาดำเนินการ (ต่อ) การดำเนินการ กรอบ ระยะเวลา ระยะเวลาดำเนินการ 4. คณะรัฐมนตรีอนุมัติ กรอบวงเงิน พร้อมกับ สำนักงบประมาณอนุมัติงบประมาณ 15 วัน 29 ธ.ค. 58 – 12 ม.ค. 59 (กรณี โครงการ/กิจกรรม ที่ต้องการปลูกพืชใช้น้ำน้อย) (5 วัน) (28 พ.ย. 58) 5. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขอรับการจัดสรรงบประมาณ เงินอุดหนุนจากสำนักงบประมาณ (กรอบวงเงินและแผนงาน/โครงการ) 7 วัน 13 – 19 ม.ค. 59 (2 ธ.ค. 58) 6. สำนักงบประมาณอนุมัติ และโอนงบประมาณให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 20 – 26 ม.ค. 59 (7 ธ.ค. 58) 7. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โอนเงินให้สำนักงานเกษตรจังหวัด 27 ม.ค. – 3 ก.พ. 59 (12 ธ.ค. 58) 8. ชุมชนเริ่มดำเนินการตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ 60 วัน 4 ก.พ. – พ.ค. 59 (13 ธ.ค. 58)

ปฏิทินการดำเนินงาน 30 วัน 15 วัน 7 วัน 15 วัน 7 วัน 7 วัน 7 วัน 90 วัน กิจกรรม ต.ค.58 พ.ย.58 ธ.ค.58 ม.ค.59 ก.พ.59 มี.ค. 59 เม.ย.59 1. ชุมชนจัดทำแผนชุมชนเสนอผ่านการกลั่นกรองคณะกรรมการระดับอำเภอ 2. จังหวัดพิจารณากลั่นกรอง (คกก. ศูนย์ เฉพาะกิจฯ คทง. ขับเคลื่อนฯ ตามมติ ครม. เมื่อ 22 ก.ย. 58 สำนักงบประมาณ เขต 1 -18 (CBO) ร่วมพิจารณา 3. คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณา และ เสนอ ครม. อนุมัติ ให้อยู่ในกรอบวงเงิน 4. ครม. อนุมัติ กรอบวงเงิน พร้อมกับ สงป. อนุมัติงบประมาณ 5. กษ. ขอรับการจัดสรรงบประมาณจาก สงป. 5. สงป. อนุมัติ โอนงบประมาณให้ กษ. 6. กษ. โอนเงินให้ สนง. เกษตรจังหวัด 7. ชุมชนเริ่มดำเนินการได้ 30 วัน 15 วัน 7 วัน 15 วัน 7 วัน 7 วัน 7 วัน 90 วัน หมายเหตุ : กรณีกลุ่มเกษตรกรต้องการเสนอโครงการ/กิจกรรม การปลูกพืชใช้น้ำน้อยและอาศัยความชื้นต้องเร่งดำเนินการและกลุ่มเกษตรกรสามารถเริ่มดำเนินการได้ในเดือนธันวาคม 2558

กลไกการบริหาร กลั่นกรองและพิจารณาอนุมัติโครงการ ระดับ กลไก หน้าที่ ระดับชาติ คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558/59 : กลั่นกรองให้เห็นชอบกรอบวงเงิน และเสนอ ครม. ระดับจังหวัด คณะกรรมการกลั่นกรองระดับจังหวัด (โดยศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขวิกฤตภัยแล้งจังหวัด) คณะทำงานขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชน ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2558 และสำนักงบประมาณ เขต 1 - 8 (CBO) กลั่นกรองโครงการ (Check list) ระดับอำเภอ คณะกรรมการกลั่นกรองระดับอำเภอ (โดยศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ อำเภอ) กลั่นกรองโครงการ ระดับตำบล ทีมประเทศไทยระดับตำบล โดยประชารัฐร่วมใจ ตรวจสอบข้อมูลพื้นที่/จำนวนคน/สำรวจวิเคราะห์ปริมาณน้ำต้นทุนในพื้นที่และความต้องการใช้น้ำข้อมูลปริมาณความต้องการและพื้นที่ที่จะรองรับการรับซื้อ

กลไกการบริหาร กลั่นกรองและพิจารณาอนุมัติโครงการ คณะรัฐมนตรี : อนุมัติกรอบวงเงิน สำนักงบประมาณ คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558/59: เห็นชอบกรอบวงเงิน และเสนอ ครม. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขวิกฤตภัยแล้งจังหวัด คณะทำงานขับเคลื่อนฯ ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 22 ก.ย. 25 และ สงป. เขต 1-18 สนง.เกษตรจังหวัด ศบกต. ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขวิกฤตภัยแล้งอำเภอ จัดทำแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้งปี 2558/59 คณะกรรมการระดับตำบล (ศบกต.) +ประธาน กม./ชุมชน พิจารณาเกษตรกรที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ และจัดทำแผนงาน/รายละเอียดโครงการของชุมชนและสรุปแผนงาน/โครงการของชุมชน สนับ สนุน วิชา การ ทีมประเทศไทยระดับตำบล : ฝ่ายปกครอง ผู้แทนหน่วยงานทหารในพื้นที่ ฝ่ายปกครองท้องที่ ฝ่ายปกครองท้องถิ่น พัฒนาชุมชน เกษตร ปศุสัตว์ ประมง พัฒนาที่ดิน พาณิชย์ อุตสาหกรรม ปราชญ์ชาวบ้าน นักวิชาการ NGO ผู้แทนสภาเกษตรกรฯลฯ ประเด็นเสนอ + ความต้องการ (Demand Side) สถานการณ์น้ำ/ข้อมูลพื้นฐานที่จริง ปรับเปลี่ยนการผลิตให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำต้นทุนในอนาคต (Demand Side) และข้อมูลด้านการตลาดรองรับผลผลิต ขอบเขตประเภทตัวอย่างโครงการ /หลักเกณฑ์โครงการ ชุมชนเสนอความต้องการโครงการ การจัดเตรียมข้อมูล + ความต้อการ (Demand Side) ตรวจสอบข้อมูลพื้นที่/จำนวนคน/สำรวจวิเคราะห์ปริมาณน้ำต้นทุน ในพื้นที่และความต้องการใช้น้ำ เป้าหมาย เกษตรกรสามารถดำรงชีพอยู่ได้ในช่วงฤดูแล้ง และสร้างโอกาสในการปรับโครงสร้างการผลิต

ขั้นตอนการดำเนินโครงการ กระทรวงมหาดไทย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ ๑ แผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ทีมประเทศไทย (ผู้นำท้องที่ + ผู้นำท้องถิ่น + ผู้อาวุโส/ปราชญ์ชาวบ้าน/NGO + ภาคแอกชน ทหารในพื้นที่ + ข้าราชการในพื้นที่) กรมชลประทาน+GISTDA+กรมทรัพยากรน้ำ +กรมทรัพยากรน้ำบาดาลสนับสนุนข้อมูลน้ำทั้งในและนอกเขตชลประทาน ตรวจสอบความถูกต้อง (Recheck) เกี่ยวกับข้อมูลพื้นที่/ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนที่ประสบภัยแล้ง รวมทั้งสำรวจความต้องการปรับเปลี่ยนอาชีพหรือการเพาะปลูกพืชของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ๒ กษ.+พณ.+อต.+ธกส.+ออมสิน+ ภาคเอกชน สนับสนุนข้อมูลความต้องการของตลาดในเรื่องผลผลิตการเกษตร ๓ ข้อมูลหมู่บ้านที่มีน้ำเพียงพอ/ไม่เพียงพอสำหรับทำการเกษตร และความต้องการในการปรับเปลี่ยนอาชีพ ๔ คณะกรรมการระดับตำบล (ศบกต.) + ประธาน กม./ชุมชน พิจารณาเกษตรกรที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ จัดทำแผนงานรายละเอียดโครงการของหมู่บ้าน/ชุมชน ทีมประเทศไทยตำบล/หมู่บ้าน สนับสนุน ข้อมูลจากผลการสำรวจในพื้นที่

ขั้นตอนการดำเนินโครงการ กระทรวงมหาดไทย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ ๕ ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งอำเภอ : กลั่นกรอง/รวบรวมเสนอศูนย์ฯ จังหวัด ๖ ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งจังหวัด + CBO เขต 1-18 ร่วมกลั่นกรองโครงการ คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งปี 2558/59 : เห็นชอบกรอบวงเงินและเสนอคณะรัฐมนตรี ๗ ๘ คณะรัฐมนตรี : อนุมัติกรอบวงเงิน ๙ สำนักงบประมาณ : อนุมัติงบประมาณ ๑๑ สำนักงานเกษตรจังหวัด ๑๐ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อุดหนุนผ่านศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.) ประชาชนดำเนินโครงการ 90 วัน ติดตาม/ประเมินผล รายงานผลการดำเนินงาน ๑๒

กลไกการบริหารและเบิกจ่ายงบประมาณ 1.วิธีการบริหารงบประมาณ 1.1 สนับสนุนโดยใช้เงินลักษณะงบประมาณเงินอุดหนุน 1.2 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการโครงการ 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 2.1 ขั้นตอนการโอนเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน 2.2 จัดทำบัญชีและการรายงานผล 2.3 หลักฐานประกอบการโอนเงิน 2.4 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เกษตรกรได้รับการดูแลจากรัฐบาล ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกษตรกรได้รับการดูแลจากรัฐบาล เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง มีอาชีพที่เหมาะสมและมีรายได้สามารถดำรงอยู่ได้ สามารถพัฒนาจากอาชีพเกษตรกรรมเพื่อตนเองไปสู่การประกอบอาชีพเพื่อสังคม (Social Business/Social Enterprise) ประชาชน สร้างโอกาสให้กับประชาชน ในการปรับเปลี่ยนอาชีพที่เหมาะสมหรือปรับโครงสร้างการผลิตให้ตรงกับความต้องการของตลาด สามารถลดความขัดแย้งเกี่ยวกับปัญหาการใช้น้ำ ระหว่างประชาชนกับหน่วยงานราชการ หรือประชาชนกับประชาชน เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชนกับ ภาคราชการในรูปแบบประชารัฐ ซึ่งจะทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน

เอกสารประกอบการเสนอโครงการเพื่อพิจารณาของคณะกรรมการแต่ละระดับ ลําดับขั้นตอน เอกสารประกอบ 1. กลุ่ม/องค์กรเกษตร เสนอต่อ ศบกต. 1.1 ใบปะหน้าขอรับการสนับสนุนโครงการ (พชภ. 02) 1.2 ตัวโครงการ ที่ลงนามครบถ้วน (พชภ. 01) 1.3 แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 1.4 รายงานการประชุมที่มีสาระครบถ้วน 1.5 เอกสารรับรองการจัดตั้งกลุ่ม 1.6 หนังสือยินยอมให้ใช้ประโยชนจากที่ดิน (พชภ. 07) 1.7 หนังสือรับรอง/แบบแปลน อาคารสถานที่ สิ่งก่อสร้าง(ถ้ามี) 1.8 ใบสืบราคาสินค้าและวัสดุในท้องถิ่น (ในวงเงินที่ คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับจังหวัด กําหนดให้ต้องมีต่อ รายการ) 1.9 อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์มาตรฐานการจ้างแรงงานและวัสดุ อุปกรณ์ ที่กําหนดให้ต้องมี 2.ศบกต. เสนอ คณะกรรมการ กลั่นกรองโครงการระดับอําเภอ 2.1 เอกสารเสนอโครงการของกลุ่มและองค์กรเกษตรกรตามข้อ1.1-1.9 2.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการฯ 2.3 แบบสรุปขอรับการสนับสนุนของชุมชน (พชภ.03)

เอกสารประกอบการเสนอโครงการเพื่อพิจารณาของคณะกรรมการแต่ละระดับ (ต่อ) ลําดับขั้นตอน เอกสารประกอบ 3. คณะกรรมการกลั่นกรอง โครงการ ระดับอําเภอ (สำนักงาน เกษตรอำเภอ ฝ่ายเลขานุการฯ ) เสนอคณะกรรมการกลั่นกรอง โครงการระดับจังหวัด 3.1 สรุปผลการพิจารณากลั่นกรองโครงการ (พชภ.04) อําเภอ เสนอ คณะกรรมการกลั่นกรองโครงการ 3.2 มติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ระดับอําเภอ 3.3 เอกสารจาก ศบกต. ทั้งหมด (ตามข้อ 2.1-2.3) 4. คณะกรรมการกลั่นกรองโครงการระดับจังหวัด (สำนักงานเกษตรจังหวัด ฝ่ายเลขานุการฯ) เสนอ คณะกรรมการกลั่นกรอระดับกระทรวง 4.1 ข้อกําหนดมาตรฐานการจ้างงาน วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งก่อสร้าง ของจังหวัด (เฉพาะครั้งแรกที่เสนอโครงการ) 4.2 สรุปผลการพิจารณาอนุมัติโครงการ (พชพ.05) 4.3 มติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ระดับจังหวัด 4.4 มติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ระดับอําเภอ กรณีโครงการนั้นมี ค่าจ่างแรงงานระหว่าง ร้อยละ 30-49 4.5 ตัวโครงการฉบับสมบูรณ์ พร้อมเอกสารประกอบ 1) แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงิน 2) หนังสือยินยอมให้ใช้ประโยชน์จากที่ดิน 3) หนังสือรับรอง/แบบแปลน อาคารสถานที่ สิ่งก่อสร้าง (ถ้ามี) 4) ใบสืบราคาสินค้าและวัสดุในท้องถิ่น (ในวงเงินที่ คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับจังหวัด กําหนดให้ต้องมีต่อรายการ)

เอกสารประกอบการเสนอโครงการเพื่อพิจารณาของคณะกรรมการแต่ละระดับ (ต่อ) ลําดับขั้นตอน เอกสารประกอบ 5) อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์มาตรฐานการจ้างแรงงานและวัสดุ อุปกรณ์ ที่กําหนดให้ต้องมีเอกสารส่งเสนอ คกก. กระทรวง 1 ชุด และต้องมีต้นฉบับสมบูรณ์ เก็บไว้ที่สํานักงานเกษตรจังหวัด เพื่อ ตรวจสอบในขั้นตอนการรับเงิน 5. คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558/59 เสนอต่อ สํานักงบประมาณ 5.1 สรุปผลการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ 5.2 มติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ระดับกระทรวง 5.3 มติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ระดับจังหวัด 5.4 ตัวโครงการฉบับสมบูรณ์ พร้อมเอกสารประกอบ 1) แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงิน 2) หนังสือยินยอมให้ใช้ประโยชนจากที่ดิน 3) หนังสือรับรอง/แบบแปลน อาคารสถานที่ สิ่งก่อสร้าง (ถ้ามี)

แบบฟอร์มต่างๆ ที่สำคัญ แบบการเขียนเสนอโครงการการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตาม ความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 พชภ. 01 แบบปะหน้าขอรับการสนับสนุนโครงการสำหรับชุมชน พชภ. 02 แบบสรุปขอรับการรับการสนับสนุนโครงการของชุมชน (ศบกต.) พชภ.03 แบบสรุปผลการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ของคณะกรรมการ กลั่นกรองโครงการ ระดับอำเภอ พชภ. 04 สรุปผลการพิจารณาอนุมัติโครงการของคณะกรรมการกลั่นกรอง โครงการ ระดับจังหวัด พชภ.05 ตัวอย่างแบบการขอใช้ที่สาธารณะ พชภ. 06 แบบตัวอย่างหนังสือยินยอมให้เข้าทำประโยชน์ที่ดิน พชภ. 07

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องการชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของ ชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง 2558/59 กระทรวงมหาดไทย ชี้แจงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณและและการทำงานของ คณะกรรมการบริหาร ศบกต. และความต้องการของของเกษตรกร โดยผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องการชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของ ชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง 2558/59 กระทรวงมหาดไทย  ชี้แจงปริมาณความต้องการและพื้นที่ที่จะรองรับการรับซื้อ โดยผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องการชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของ ชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง 2558/59 กระทรวงมหาดไทย  ชี้แจงการบูรณการงบการจ้างงาน และสถาบันพัฒนาการ ก่อสร้าง โดยผู้แทนกระทรวงแรงงาน ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องการชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของ ชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง 2558/59 กระทรวงมหาดไทย  ชี้แจงบทบาทความร่วมมือของโรงงานในพื้นที่ โดยผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องการชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของ ชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง 2558/59 กระทรวงมหาดไทย  ชี้แจงการพิจารณางบประมาณ โดยผู้แทนสำนักงบประมาณ ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องการชี้แจงทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของ ชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง 2558/59 กระทรวงมหาดไทย  ชี้แจงสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.  โดยผู้แทนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ....................................................................................................................... .................................................................................................................................. ...................................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ กระทรวงมหาดไทย