“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
การใช้งานโปรแกรม SPSS
การแทรกหัวข้อย่อยและเลข ลำดับ. แทรกหัวข้อย่อย ขั้นตอน 1. ลากเมาส์คลุมข้อความที่ต้องการใส่ สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย 2. ที่แท็บ หน้าแรก ให้คลิกปุ่ม สัญลักษณ์
การแทรกภาพและรูปทรงอัตโนมัติ
Windows Update settings.  เพื่อช่วยให้ windows ของ pc นั้น มีปลอดภัยยิ่งกว่าเดิม และทำงานได้ราบรื่น และจะได้รับการปรับปรุงความ ปลอดภัย ( Security ) ล่าสุดและแก้
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
สมาชิกกลุ่ม นายจตุพร ร้องเสียง เลขที่ 5 นายณัฐวัฒน์ เทพวรรณ์ เลขที่ 8
การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา.
 การเปิดโปรแกรม MS-Word 2003  หน้าตาวินโดว์ของ Word  การเก็บบันทึกเอกสาร  การปิดเอกสาร  การสร้างเอกสารใหม่  การเปิดเอกสารเก่าขึ้นมาใช้งาน  การแทรกข้อความ.
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
วิชาโปรแกรมประมวลผลคำ
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
กระบวนการของการอธิบาย
ค้นหาภาพร่าง หรือ วาดเอง
เริ่มด้วยการ เปิดโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007 ขึ้นมา.
การใช้งาน Microsoft Excel
นางสาว ณัฐนิช อดิวัฒนสิทธิ์ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
CD แผ่น ชื่อ File Program
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
การใช้โปรแกรม Microsoft Word XP Microsoft Word XP.
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
คู่มือการเปิดเผยข้อมูลราคากลาง ในระบบ e - GP สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
สร้างสื่อนำเสนอ ข้อมูลด้วย
Word ที่ไม่ใช่แค่ Word
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
บทที่ 3 Windows OUTLINE คำสั่งเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
ยินดีต้อนรับสู่ PowerPoint
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
Storyboard คืออะไร.
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
Storyboard คืออะไร.
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ” – ตัวบ่งชี้ ฉากหิมะแบบเคลื่อนไหว (ยาก) เคล็ดลับ: เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดจากลักษณะพิเศษนี้ ควรใช้ภาพขนาดใหญ่ที่มีความคมชัดสูง ภาพในตัวอย่างด้านบนนี้มีขนาดกว้าง 2000 พิกเซลและสูง 750 พิกเซล คุณอาจต้องใช้เส้นบอกแนวเพื่อสร้างลักษณะพิเศษการเคลื่อนไหว เมื่อต้องการแสดงและตั้งเส้นบอกแนว ให้ทำดังนี้ คลิกขวาที่พื้นหลังภาพนิ่งและเลือก เส้นตารางและเส้นบอกแนว. ในกล่องโต้ตอบ เส้นตารางและเส้นบอกแนว ภายใต้ การตั้งค่า เส้นบอกแนว ให้เลือก แสดง เส้นบอกแนว รูปวาด บนหน้าจอ แล้วคลิก ตกลง (ข้อสังเกต: จะมีเส้นบอกแนวในแนวนอนและแนวตั้งแสดงอยู่บนภาพนิ่งที่ตำแหน่งเริ่มต้น คือ 0.00 เมื่อคุณลากเส้นบอกแนวออกไป เคอร์เซอร์จะแสดงตำแหน่งใหม่) กด CTRL ค้างไว้ เลือกเส้นบอกแนวในแนวตั้ง แล้วลากไปที่ตำแหน่ง 5.00 เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเศษรูปภาพบนภาพนิ่งนี้ ให้ทำดังนี้ บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม ภาพนิ่ง ให้คลิก เค้าโครง จากนั้นคลิก ว่างเปล่า บนแท็บ แทรก ในกลุ่ม รูป ให้คลิก รูปภาพ ในกล่องโต้ตอบ แทรกรูปภาพ ให้เลือกรูปภาพ แล้วคลิก แทรก บนภาพนิ่ง ให้เลือกรูปภาพนั้น ภายใต้ เครื่องมือรูปภาพ บนแท็บ การจัดรูปแบบ ในมุมขวาล่างของกลุ่ม ขนาด ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ขนาดและตำแหน่ง ในกล่องโต้ตอบ จัดรูปแบบรูปภาพ ให้ปรับขนาดหรือครอบตัดรูปภาพเพื่อให้ได้ความสูงที่ 7.5” และความกว้างที่ 20” เมื่อต้องการครอบตัดรูปภาพ ให้คลิก ครอบตัด ในบานหน้าต่างซ้าย และในบานหน้าต่าง ครอบตัด ภายใต้ ตำแหน่งครอบตัด ให้ใส่ค่าลงในกล่อง ความสูง ความกว้าง ด้านซ้าย และ ด้านบน เมื่อต้องการปรับขนาดรูปภาพ ให้คลิก ขนาด ในบานหน้าต่างด้านซ้าย และในบานหน้าต่างขนาด ภายใต้ ขนาดและการหมุน ให้ใส่ค่าลงในกล่อง ความสูง และ ความกว้าง บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม รูปวาด ให้คลิกลูกศรใต้ การจัดเรียง ชี้ไปที่ จัดแนว แล้วให้ทำดังนี้ คลิก จัดชิดภาพนิ่ง คลิก จัดชิดซ้าย คลิก จัดกึ่งกลาง เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเศษเกล็ดหิมะอันแรกบนภาพนิ่งนี้ ให้ทำดังนี้ บนแท็บ แทรก ในกลุ่ม รูป ให้คลิก ภาพตัดปะ ในบานหน้าต่าง ภาพตัดปะ ในกล่อง ค้นหา ให้ใส่ j0299587.wmf ล้างกล่องกาเครื่องหมาย รวมเนื้อหา Office.com จากนั้นคลิก ไป เลือกแฟ้มภาพตัดปะในบานหน้าต่างเพื่อแทรกลงในภาพนิ่ง หมายเหตุ: ถ้าคุณจะเลือกแฟ้มภาพตัดปะแฟ้มอื่น ภาพตัดปะนั้นต้องเป็นรูปแบบ Windows Metafile (.wmf) บนภาพนิ่ง ให้เลือกภาพตัดปะ และบนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม รูปวาด ให้คลิก จัดเรียง แล้วคลิก ยกเลิกการจัดกลุ่ม ในกล่องโต้ตอบ Microsoft Office PowerPoint ให้คลิก ใช่ บนภาพนิ่ง ให้เลือกภาพตัดปะที่ถูกแปลง และบนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม การแก้ไข ให้คลิก เลือก แล้วคลิก บานหน้าต่างส่วนที่เลือก ในบานหน้าต่างงาน ส่วนที่เลือกและการมองเห็น ให้เลือกกลุ่มระดับบนสุด บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม รูปวาด ให้คลิก จัดเรียง จากนั้นคลิก ยกเลิกการจัดกลุ่ม แล้วในบานหน้าต่าง ส่วนที่เลือกและการมองเห็น ให้ทำดังนี้ เลือกวัตถุ รูปร่างอัตโนมัติ แล้วกด DELETE กด CTRL+SHIFT ค้างไว้ เลือกรูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าทั้งหมด แลัวกด DELETE แล้วในบานหน้าต่างงาน ส่วนที่เลือกและการมองเห็น กด CTRL+SHIFT ค้างไว้ จากนั้นเลือกรูปร่างอิสระทั้งหมด บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม รูปวาด ให้คลิกลูกศรใต้ การจัดเรียง แล้วคลิก จัดกลุ่ม แล้วในบานหน้าต่างงาน ส่วนที่เลือกและการมองเห็น ให้ัเลือกกลุ่มของวัตถุ (เกล็ดหิมะ) บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม รูปวาด ให้คลิกลูกศรถัดจาก เติมสี รูปร่าง จากนั้นภายใต้ สีของ ชุดรูปแบบ ให้คลิก สีขาว, พื้นหลัง 1(แถวแรก ตัวเลือกแรกจากซ้าย) บนภาพนิ่ง ให้คลิกขวาที่กลุ่มของวัตถุแล้วคลิก ตัด บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม คลิปบอร์ด ให้คลิกลูกศรใต้ วาง แล้วคลิก วาง แบบพิืเศษ ในกล่องโต้ตอบ วาง แบบพิเศษ ให้เลือก วาง จากนั้นภายใต้ เป็น ให้เลือก รูปภาพ (PNG) บนภาพนิ่ง ให้เลือกเกล็ดหิมะใหม่นั้น ภายใต้ เครื่องมือรูปภาพ บนแท็บ จัดรูปแบบ ในมุมขวาล่างของกลุ่ม ขนาด ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ขนาดและตำแหน่ง ในกล่องโต้ตอบ จัดรูปแบบรูปภาพ บนแท็บ ขนาด ภายใต้ ขนาดและการหมุน ให้ทำดังนี้ ในกล่อง ความสูง ใส่ 1” ในกล่อง ความกว้าง ใส่ 0.87” ในกล่อง การหมุน ใส่ 20° ลากเกล็ดหิมะลงไปในมุมซ้ายบนของรูปภาพ เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเศษเกล็ดหิมะอันที่สองบนภาพนิ่งนี้ ให้ทำดังนี้ บนภาพนิ่ง ให้เลือกเกล็ดหิมะ บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม คลิปบอร์ด ให้คลิกลูกศรทางขวาของ คัดลอก แล้วคลิก ทำซ้ำ เลือกเกล็ดหิมะอันที่สอง ภายใต้ เครื่องมือรูปภาพ บนแท็บ จัดรูปแบบ ในมุมขวาล่างของกลุ่ม ขนาด ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ขนาดและตำแหน่ง ในกล่องโต้ตอบ จัดรูปแบบรูปภาพ บนแท็บ ขนาด ภายใต้ ขนาดและการหมุน ให้ทำดังนี้ ในกล่อง ความสูง ใส่ 0.42” ในกล่อง ความกว้าง ใส่ 0.36” ลากเกล็ดหิมะที่สองออกทางขอบซ้ายของภาพนิ่ง เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเศษเกล็ดหิมะอันที่สามบนภาพนิ่งนี้ ให้ทำดังนี้ เลือกรูปภาพเกล็ดหิมะอันที่สองบนภาพนิ่ง บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม คลิปบอร์ด ให้คลิกลูกศรด้านขวาของ คัดลอก แล้วคลิก ทำซ้ำ เลือกเกล็ดหิมะอันที่สาม ภายใต้ เครื่องมือรูปภาพ บนแท็บ จัดรูปแบบ ที่มุมขวาล่างของกลุ่ม ขนาด ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ขนาดและตำแหน่ง ในกล่องโต้ตอบ จัดรูปแบบรูปภาพ บนแท็บ ขนาด ภายใต้ ขนาดและการหมุน ให้ทำดังนี้ ในกล่อง ความสูง ใส่ 0.56” ในกล่อง ความกว้าง ใส่ 0.48” ลากเกล็ดหิมะอันที่สามออกนอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง ไปด้านล่างเยื้องไปทางซ้ายของเกล็ดหิมะอันที่สองเล็กน้อย เมื่อต้องการสร้างกล่องข้อความสำหรับคำอ้างอิงบนภาพนิ่งนี้ ให้ทำดังนี้ บนแท็บ แทรก ในกลุ่ม ข้อความ ให้คลิก กล่อง ข้อความ บนภาพนิ่ง ให้ลากเพื่อวาดกล่องข้อความ ใส่ข้อความสำหรับคำอ้างอิงในกล่องข้อความ แล้วเลือกข้อความนั้น บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม แบบอักษร ให้เลือก Georgia จากรายการ แบบอักษร เลือก18 จากรายการ ขนาดแบบอักษร คลิกตัวเอียง คลิกลูกศรถัดจาก สีแบบอักษร แล้วภายใต้ สีของชุดรูปแบบ ให้คลิก สีขาว พื้นหลัง 1 ลากกล่องข้อความไปทางขวาของเกล็ดหิมะอันแรก ใกล้มุมซ้ายบนของภาพนิ่ง เมื่อต้องการสร้างกล่องข้อความสำหรับที่มาของคำอ้างอิงบนภาพนิ่งนี้ซ้ำอีก ให้ทำดังนี้ ใส่ข้อความสำหรับที่มาของคำอ้างอิงในกล่องข้อความ จากนั้นให้เลือกข้อความนั้น บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่ม แบบอักษร ให้เลือก Georgia จากรายการ แบบอักษร เลือก 14 จากรายการ ขนาดแบบอักษร คลิก ตัวเอียง คลิืกลูกศรถัดจาก สีแบบอักษร จากนั้นภายใต้ สีของชุดรูปแบบ ให้คลิก สีขาว พื้นหลัง 1 ลากกล่องข้อความไปด้านล่างทางขวาของกล่องข้อความคำอ้างอิง เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเ‎ศษการเคลื่อนไหวสำหรับเกล็ดหิมะอันที่สองจากด้านบน ให้ทำดังนี้ สำหรับกระบวนงานนี้ การแสดงไม้บรรทัดและย่อขนาดภาพนิ่งจะช่วยให้สร้างลักษณะพิเศษการเคลื่อนไหวได้ง่ายขึ้น บนแท็บ มุมมอง ในกลุ่ม ย่อ/ขยาย ให้คลิก ย่อ/ขยาย ในกล่องโต้ตอบ ย่อ/ขยาย ให้เลือก 50% แล้วแท็บ มุมมอง ในกลุ่ม แสดง/ซ่อน ให้เลือก ไม้บรรทัด เลือกเกล็ดหิมะอันบนสุดนอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ เส้นทางการเคลื่อนไหว ให้คลิก เส้นโค้ง เมื่อต้องการวาดเส้นทางการเคลื่อนไหวแนวโค้ง ให้ทำดังนี้ บนภาพนิ่ง ให้คลิกขวาที่รูปร่างแล้วเลือก แก้ไข จุด คลิกขวาที่เส้นทางการเคลื่อนไหวใกล้จุดสิ้นสุดสีแดง แล้วเลือก เพิ่ม จุด ลากจุดแรกออกนอกขอบซ้ายของภาพนิ่งใกล้กับเกล็ดหิมะ ลากจุดที่สองไปที่ 3.5” จากด้านซ้ายของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 0.5” เหนือเส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่สามไปที่ 0.5” จากด้านซ้ายของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 0.5” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่สี่ไปที่ 2” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 0.4” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน จุดที่ห้าไปที่ 4” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 0.8” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน จุดที่หกซึ่งเป็นจุดสุดท้ายไปที่ 0.5” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 5.00 และ 0.75” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ออกจากขอบขวาของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ตัวเลือก ลักษณะพิเศษ ในกล่องโต้ตอบ โค้งลง ให้ทำดังนี้ บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ภายใต้ การตั้งค่า ในรายการ เส้นทาง ให้เลือก ล็อก บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ภายใต้ การตั้งค่า ให้ล้าง เริ่มต้น ราบรื่น บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ภายใต้ การตั้งค่า ให้ล้าง สิ้นสุด ราบรื่น บนแท็บ ช่วงเวลา ในรายการ เริ่ม ให้เลือก กับ ก่อนหน้านี้ บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 12 วินาที เลือกเกล็ดหิมะอันบนสุดที่อยู่นอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ ตัวเน้น ให้คลิก ปั่น บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ตัวเลือกลักษณะพิเศษ ในกล่องโต้ตอบ ปั่น บนแท็บ การกำหนดเวลา ให้ทำดังนี้ ในรายการ เริ่ม ให้เลือก กับก่อนหน้านี้ ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 6 วินาที ในรายการ ทำซ้ำ ให้เลือก 2 เลือกเกล็ดหิมะอันบนสุดที่อยู่นอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว และภายใต้ ตัวเน้น ให้คลิก เพิ่ม/ลด บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว แล้วคลิกตัุวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ตัวเลือก ลักษณะพิเศษ ในกล่องโต้ตอบ เพิ่ม/ลด ให้ทำดังนี้ บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ในรายการ ขนาด ในกล่อง กำหนดเอง ใส่ 60% แล้วกด ENTER บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ให้เลือก เริ่มต้น ราบรื่น บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ให้เลือก สิ้นสุด ราบรื่น บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ให้เลือก ย้อนกลับอัตโนมัติ บนแท็บ การกำหนดเวลา ในรายการ เริ่ม ให้เลือก กับก่อนหน้านี้ บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 6 วินาที เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเ‎ศษการเคลื่อนไหวสำหรับเกล็ดหิมะอันที่สามจากด้านบน ให้ทำดังนี้ เลือกเกล็ดหิมะอันล่างสุดที่อยู่นอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ เส้นทางการเคลื่อนไหวให้คลิก เส้นโค้ง เมื่อต้องการวาดเส้นทางการเคลื่อนไหว ให้ทำดังนี้บนภาพนิ่ง บนภาพนิ่ง คลิกขวาที่รูปร่างแล้วเลือก แก้ไข จุด คลิกขวาเส้นทางการเคลื่อนไหวใกล้จุดสิ้นสุดสีแดง แล้วเลือก เพิ่ม จุด ลากจุดแรกออกไปนอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง ใกล้กับเกล็ดหิมะ ลากจุดที่สองไปที่ 3.5” จากด้านซ้ายของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 1” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่สามไปที่จุดตัดของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 กับเส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่สี่ไปที่ 2” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 0.25” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่ห้าไปที่ 4” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งและ 0.5” เหนือเส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่หกซึ่งเป็นจุดสุดท้ายไปที่ 0.25” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 5.00 และ 0.5” เหนือเส้นบอกแนวในแนวนอน ออกนอกขอบขวาของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ตัวเลือก ลักษณะพิเศษ ในกล่องโต้ตอบ โค้งลง ให้ทำดังนี้ บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ให้ล้าง เริ่มต้น ราบรื่น บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง หน่วงเวลา ใส่ 8 บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 13 วินาที เลือกเกล็ดหิมะอันล่างสุดนอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ ตัวเน้น ให้คลิก ปั่น แล้วบนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ตัวเลือกลักษณะพิเศษ ในกล่องโต้ตอบ ปั่น ให้ทำดังนี้ บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ในรายการ จำนวน ในกล่อง กำหนดเอง ใส่ 360° แล้วกด ENTER บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ในรายการ จำนวน เช่นกัน ให้เลือก ทวนเข็มนาฬิกา บนแท็บ การกำหนดเวลา ในรายการ เริ่ม ให้เลือก กับ ก่อนหน้านี้ บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง ความเร็ว ใส่ 13 วินาที เลือกเกล็ดหิมะอันล่างสุดนอกขอบซ้ายของภาพนิ่ง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ ตัวเน้น ให้คลิก เพิ่ม/ลด แล้วบนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ตัวเลือก ลักษณะพิเศษ ในกล่องโต้ตอบ เพิ่ม/ลด ให้ทำดังนี้ บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ภายใต้ การตั้งค่า ในรายการ ขนาด ในกล่อง กำหนดเอง ใส่ 40% แล้วกด ENTER บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ภายใต้ การตั้งค่า ให้เลือก เริ่มต้น ราบรื่น บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ภายใต้ การตั้งค่า ให้เลือก สิ้นสุด ราบรื่น บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ภายใต้ การตั้งค่า ให้เลือก ย้อนกลับอัตโนมัติ บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง ความเร็ว ใส่ 6.5 วินาที เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเศษการเคลื่อนไหวรูปภาพซ้ำอีก ให้ทำดังนี้ บนภาพนิ่ง ให้เลือกรูปภาพขนาดใหญ่ บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ เส้นทางการเคลื่อนไหว ให้ึคลิก เส้น แล้วบนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ให้คลิก ตัวเลือกลักษณะพิเศษ แล้วคลิก ซ้าย บนภาพนิ่ง ให้เลือกลักษณะพิเศษเส้นทางการเคลื่อนไหวทางซ้ายสำหรับรูปภาพขนาดใหญ่นั้น ชี้ไปที่จุดสิ้นสุด (ลูกศรสีแดง) ของเส้นทางการเคลื่อนไหวที่เลือกจนกระทั่งเคอร์เซอร์กลายเป็นลูกศรสองหัว กด SHIFT ค้างไว้ แล้วลากจุดสิ้นสุดไปจนถึงขอบซ้ายของภาพนิ่ง (หมายเหตุ: ดูให้แน่ใจว่าคุณยืดเส้นทางการเคลื่อนไหวด้วยการลากจุดสิ้นสุดเท่านั้น โดยไม่ได้ลากเส้นทางทั้งหมดขึ้นหรือลง หรือไปทางซ้ายหรือขวา คุณอาจต้องขยายภาพนิ่งขึ้นเพื่อให้สามารถลากเส้นทางได้แม่นยำยิ่งขึ้น บนแท็บ มุมมอง ในกลุ่ม ย่อ/ขยาย ให้คลิก ย่อ/ขยาย ในกล่องโต้ตอบ ย่อ/ขยาย ให้เลือก 100% หรือมากกว่า) บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การกำหนดเวลา ให้ทำดังนี้ ในรายการ เริ่ม ให้เลือก กับ ก่อนหน้านี้ ในกล่อง หน่วงเวลา ใส่ 17 ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 3 วินาที เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเ‎ศษการเคลื่อนไหวสำหรับเกล็ดหิมะอันแรกจากด้านบน ให้ทำดังนี้ บนภาพนิ่ง ให้เลือกเกล็ดหิมะที่อยู่ถัดไปทางซ้ายของกล่องข้อความ บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่ม การเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ เข้า ให้คลิก ขยาย แล้วบนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การกำหนดเวลา ให้ทำดังนี้ ในกล่อง หน่วงเวลา ใส่ 16 ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 1 วินาที บนภาพนิ่ง ให้เลือกเกล็ดหิมะที่อยู่ถัดไปทางซ้ายของกล่องข้อความ บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ เส้นทางการเคลื่อนไหว ให้คลิก เส้นโค้ง คลิกขวาที่เส้นทางการเคลื่อนไหวใกล้จุดเริ่มต้นสีเขียว แล้วเลือก เพิ่ม จุด ลากจุดแรกออกไปนอกขอบซ้ายของภาพนิ่้ง ที่ 2” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่สองไปที่ 3” จากด้านซ้ายของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 3” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่สามไปที่ 1” จากด้านซ้ายของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 2.75” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่สี่ไปที่ 2.75” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 1” ใต้เส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่ห้าไปที่ 2.25” จากด้านขวาของเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 0.5” เหนือเส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่หกไปบนเส้นบอกแนวในแนวตั้งที่ตำแหน่ง 0.00 และ 2” เหนือเส้นบอกแนวในแนวนอน ลากจุดที่เจ็ดซึ่งเป็นจุดสุดท้ายไปไว้บนเกล็ดหิมะ ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 5 วินาที คลิกขวาบริเวณพื้นหลังของภาพนิ่ง แล้วคลิก เส้นตารางและเส้นบอกแนว ในกล่องโต้ตอบ เส้นตารางและเส้นบอกแนว ภายใต้ การตั้งค่าเส้นบอกแนว ให้ล้าง แสดงเส้นบอกแนวรูปวาดบนหน้าจอ แล้วคลิก ตกลง เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเ‎ศษการเคลื่อนไหวสำหรับกล่องข้อความคำอ้างอิง ให้ทำดังนี้ บนภาพนิ่ง ให้เลือกกล่องข้อความคำอ้างอิง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ เข้า ให้คลิก เลือน แล้วบนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหว ให้คลิกตัวเปิดใช้กล่องโต้ตอบ ตัวเลือก ลักษณะพิเศษ ในกล่องโต้ตอบ เลือน ให้ทำดังนี้ บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ในรายการ เคลื่อนไหว ข้อความ ให้เลือก ทีละ ตัวอักษร บนแท็บ ลักษณะพิเศษ ในกล่อง % หน่วงเวลาระหว่างตัวอักษร ใส่ 4 บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง หน่วงเวลา ใส่ 21 บนแท็บ การกำหนดเวลา ในกล่อง ระยะเวลา ใส่ 0.5 วินาที เมื่อต้องการสร้างลักษณะพิเ‎ศษการเคลื่อนไหวสำหรับกล่องข้อความที่มาของคำอ้างอิง ให้ทำดังนี้ เลือกกล่องข้อความที่มาของคำอ้างอิง บนแท็บ การเคลื่อนไหว ในกลุ่ม การเคลื่อนไหวขั้นสูง ให้คลิก เพิ่มการเคลื่อนไหว จากนั้นภายใต้ เข้า ให้คลิก เลือน ในกล่อง หน่วงเวลา ใส่ 22.5 ในรายการ ระยะเวลา ใส่ 0.5 วินาที