บทที่ 7 การจัดการทางบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 6 งบประมาณ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
1.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 BASIC FINANCIAL STATEMENTS Chapter 3.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 3 การจำแนกรายการบัญชี
บทที่ 7 งบประมาณ.
Analyzing and Recording Business Transactions
การบัญชีเบื้องต้น Basic Accounting
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงิน 1. ฝ่ายบริหาร 2. ผู้ลงทุน
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
วัฏจักรทางการบัญชีและการวิเคราะห์รายการค้า
บทที่ 5 การปิดบัญชี และการจัดทำงบการเงิน
วิชาการเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN 1103
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 10 การวิเคราะห์งบการเงิน
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กลุ่มที่ 4 ต้นแบบระบบสารสนเทศ ด้านการคลังเพื่อการบริหารจัดการ.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
Financial Reporting AND Analysis Accounting Information
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 1 วิวัฒนาการของรายงานทางการเงิน
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การวิเคราะห์งบการเงิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 2 งบการเงิน ความหมายของงบการเงิน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 9 สมุดรายวันเฉพาะและสมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การจัดการทางบัญชี ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา yalada

ความสำคัญและประโยชน์ ของข้อมูลทางการบัญชี เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร เจ้าหนี้ หรือแหล่งเงินกู้ นักลงทุน ลูกค้าและผู้ขายวัตถุดิบ พนักงาน คู่แข่ง รัฐบาลหรือหน่วยงานภาครัฐ บุคคลทั่วไป

กระบวนการทางการบัญชี เก็บรวบรวม การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจำวัน การจำแนก/การจัดหมวดหมู่ของรายการ การสรุปผลของข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล

การบัญชี(Accounting) การบัญชี เป็นศิลปะของการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการเงินไว้ในรูปของเงินตรา จัดหมวดหมู่รายการเหล่านั้น สรุปผลพร้อมตีความหมายของผลอันนั้น

ประเภทของธุรกิจ (Type of Business) 1. ธุรกิจผลิตสินค้า (Manufacturing Business) 2. ธุรกิจซื้อขายสินค้า (Merchandising Business) 3. ธุรกิจให้บริการ (Service Business) รูปแบบของธุรกิจ 1. ร้านค้าเจ้าของคนเดียว (Proprietorship) 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล - ห้างหุ้นส่วนจำกัด 3. บริษัทจำกัด (Company Limited)

งบการเงิน (Financial Statement) หมายถึงรายงานทางการเงินที่แสดงให้เห็นถึงผลการดำเนินงาน และฐานะการเงินของกิจการในช่วงเวลาหนึ่ง งบการเงินในที่นี้จะกล่าวถึง งบกำไรขาดทุน งบดุล และงบกระแสเงินสด งบดุล (BALANCE SHEET) คือ งบการเงินที่แสดงฐานะทางการเงินขององค์กร ณ เวลาใดเวลาหนึ่งเช่น ณ วันสิ้นงวดบัญชี วันที่ 31 ธันวาคม 2551

คือ งบการเงินที่แสดงกระแสเงินสด สำหรับงวดบัญชีหนึ่ง งบกำไรขาดทุน (INCOME STATEMENT) คือ งบการเงินที่แสดงผลการดำเนินงานขององค์กร สำหรับงวดบัญชีหนึ่ง เช่น ประจำปี สิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบกระแสเงินสด (STATEMENT OF CASH FLOWS) คือ งบการเงินที่แสดงกระแสเงินสด สำหรับงวดบัญชีหนึ่ง เช่น ประจำปี สิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม 2551

องค์ประกอบของงบการเงิน วัดฐานะการเงิน วัดผลการดำเนินงาน งบดุล งบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ รายได้ หนี้สิน ค่าใช้จ่าย ส่วนของเจ้าของ

งบดุล(Balance Sheet) เป็นงบที่แสดงถึงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ.เวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งจะบอกให้ทราบถึงสิ่งที่กิจการมีอยู่ นั่นคือ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ

สมการบัญชี(Accounting Equation) สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ(ทุน) Assets = Liabilities + Owner’s Equity A = L + OE

สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัท ตะวันออก จำกัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด 1,000 เจ้าหนี้การค้า 1,200 ลูกหนี้การค้า 2,000 เงินกู้ระยะยาว 2,800 สินค้า 6,000 หุ้นสามัญ 10,000 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 10,000 กำไรสะสม 5,000 รวมสินทรัพย์ 19,000 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 19,000

งบดุล รูปแบบของงบดุล ในการจัดทำงบดุลมี 2 รูปแบบ คือ สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ... ...... .... ..... รวมหนี้สินและ รวมสินทรัพย์ 19,000 ส่วนของผู้ถือหุ้น 19,000 สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ รูปแบบของงบดุล ในการจัดทำงบดุลมี 2 รูปแบบ คือ แบบรายงาน (Report Form) แบบบัญชี (Account Form)

หนี้สินและส่วนของเจ้าของ แบบรายงาน ร้านเงินบริการ งบดุล วันที่ 15 มีนาคม 2548 สินทรัพย์ เงินสด 45,000 เงินฝากธนาคาร 72,000 วัสดุสำนักงาน 18,000 เครื่องตกแต่ง 56,000 อาคารและที่ดิน 150,000 รวมสินทรัพย์ 346,000 หนี้สินและส่วนของเจ้าของ เจ้าหนี้การค้า 33,000 ทุน – นายเงิน 313,000 รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ 346,000

ตัวอย่างงบดุลแบบรายงาน

หนี้สินและส่วนของเจ้าของ ร้านทองบริการ งบดุล วันที่ 15 มีนาคม 2548 แบบบัญชี สินทรัพย์ เงินสด เงินฝากธนาคาร เครื่องตกแต่ง อาคารและที่ดิน 50,000 40,000 30,000 180,000 - หนี้สินและส่วนของเจ้าของ เจ้าหนี้การค้า ทุน - นายทอง 20,000 280,000 300,000

ตัวอย่างงบดุลแบบบัญชี

การจัดหมวดหมู่รายการต่างๆ ในงบดุล สินทรัพย์ - สินทรัพย์หมุนเวียน - เงินลงทุนระยะยาว - สินทรัพย์ถาวร - สินทรัพย์อื่น หนี้สิน - หนี้สินหมุนเวียน - หนี้สินระยะยาว ส่วนของเจ้าของ

การจัดหมวดหมู่รายการต่างๆ ในงบดุล สินทรัพย์ 1. สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) ได้แก่ เงินสด หรือสินทรัพย์อื่นๆ ที่เปลี่ยนเป็นเงินสดได้ง่าย ภายใน 1 ปี เช่น เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ตั๋วเงินรับ ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ดอกเบี้ยหรือรายได้ค้างรับ การลงทุนในหลักทรัพย์ระยะสั้น 2. เงินลงทุนระยะยาว (Long-term Investment) ได้แก่ เงินลงทุนซื้อหุ้น หุ้นกู้ของบริษัทอื่น เงินให้กู้แก่กิจการอื่น พันธบัตร และสินทรัพย์อื่นๆ เพื่อให้ได้รับผลตอบแทน คือ ดอกเบี้ย ซึ่งเป็นรายได้อย่างหนึ่งของกิจการ 3. สินทรัพย์ถาวร (Fix Assets) คือสินทรัพย์ที่มีตัวตน มีลักษณะคงทนถาวร กิจการมีไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงาน เช่น ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ (เครื่องมือ เครื่องจักรต่างๆ) 4. สินทรัพย์อื่น (Other Assets) หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน ซึ่งมีคุณค่าในการดำเนินงานของกิจการ และกิจการสามารถเป็นเจ้าของได้ตามกฎหมาย ได้แก่ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ค่าความนิยม เป็นต้น

การจัดหมวดหมู่รายการต่างๆ ในงบดุล หนี้สิน 1. หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) คือหนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันต้องชำระภายใน 1 ปี ได้แก่ เจ้าหนี้การค้า ตั๋วเงินจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า ฯลฯ 2. หนี้สินระยะยาว (Long Term Liabilities) คือหนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันต้องชำระแก่บุคคลภายนอก ในระยะเวลาเกิน 1 ปีหรือ 1 รอบระยะเวลาการดำเนินงาน ได้แก่ ตั๋วเงินระยะยาว หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของเจ้าของหรือส่วนของผู้ถือหุ้น คือส่วนเกินของสินทรัพย์ที่สูงกว่าหนี้สิน และตกเป็นผลประโยชน์ของเจ้าของกิจการ ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ - ทุน-หุ้นสามัญและส่วนเกินมูลค่าหุ้น - กำไรสะสม แต่ถ้ากิจการขาดทุนก็จะเก็บในรูปขาดทุนสะสม

ส่วนของเจ้าของ (Owner’ s Equity) แบ่งออกเป็น เจ้าของคนเดียว ส่วนของเจ้าของ ทุน 50,000 ห้างหุ้นส่วน ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน ทุน – ก 20,000 ทุน – ข 30,000 รวม 50,000 บริษัท ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ 40,000 กำไรสะสม 10,000 รวม 50,000

ตัวอย่าง สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ ร้านอุดมบริการ มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 460,000 บาท มีหนี้สินจากการซื้อเครื่องตกแต่งจำนวน 40,000 บาท ดังนั้นร้านอุดมมีสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 420,000 บาท (460,000 – 40,000) หรือนายอุดมมีทุนทั้งสิ้น 420,000 บาท เงินสด 70,000 บาท เงินฝากธนาคาร 140,000 บาท ลูกหนี้ – นายดำ 20,000 บาท เครื่องตกแต่ง 40,000 บาท อาคาร 100,000 บาท ที่ดิน 200,000 บาท รวม 460,000 บาท สินทรัพย์ หนี้สิน เจ้าหนี้ – ค่าเครื่องตกแต่ง 40,000 บาท ส่วนของเจ้าของ (460,000 – 40,000) ทุน – นายอุดม 420,000 บาท

งบกำไรขาดทุน (Income Statement) เป็นงบที่แสดงผลการดำเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่งว่ามีกำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิเป็นจำนวนเท่าใด งบกำไรขาดทุนนี้จะประกอบ ด้วยรายการใหญ่ 2 รายการ คือ รายได้ และค่าใช้จ่าย

งบกำไรขาดทุน (Income Statement) รายได้ (Revenues) คือ สินทรัพย์ ซึ่งกิจการได้รับจากการขายสินค้า สิทธิ หรือบริการให้กับลูกค้า รวมถึงผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุน และการได้รับสินทรัพย์นั้นมีผลทำให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่าย (Expenses) คือ ต้นทุนของสินค้าและบริการที่ใช้ไปหรือหมดไปเพื่อก่อให้เกิดรายได้ และมีผลทำให้ส่วนของเจ้าของลดลง

ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับค่าใช้จ่าย รายได้ – ค่าใช้จ่าย = กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ รายได้ > ค่าใช้จ่าย = กำไรสุทธิ รายได้ < ค่าใช้จ่าย = ขาดทุนสุทธิ แบบของงบกำไรขาดทุน แบบของงบกำไรขาดทุนที่แสดงต่อผู้ถือหุ้นหรือบุคคลภายนอกมี 2 แบบ คือ แบบรายงาน เรียกว่า งบกำไรขาดทุน และแบบบัญชี เรียกว่า บัญชีกำไรขาดทุน

แบบรายงาน(Report Form) ร้านสุรพงษ์บริการ งบกำไรขาดทุน สำหรับรอบระยะเวลา 1 ปี สิ้นสุด ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2548 (หน่วย : บาท) รายได้ รายได้ค่าซ่อมรถ 50,000 ค่าใช้จ่าย ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ 2,000 ค่าแรงงาน 5,000 7,000 กำไรสุทธิ 43,000

แบบบัญชี(Account Form) ร้านสุรพงษ์บริการ บัญชีกำไรขาดทุน สำหรับรอบระยะเวลา 1 ปี สิ้นสุด ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ค่าใช้จ่าย ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าแรงงาน กำไรสุทธิ 2,000 5,000 43,000 - รายได้ รายได้ค่าซ่อมรถ 50,000

ตัวอย่างงบกำไรขาดทุนแบบรายงาน แบบแสดงยอดขั้นเดียว (Single Step)

แบบแสดงยอดหลายขั้น (Multiple Step)

ตัวอย่างงบกำไรขาดทุนแบบบัญชี

งบกระแสเงินสด (The Statement of Cash Flows) งบกระแสเงินสด เป็นงบที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสด ซึ่งจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่ได้มา และแหล่งที่ใช้ไปของเงินสด สำหรับรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง กิจกรรมที่ทำให้งบกระแสเงินสดเปลี่ยนแปลง มี 3 กิจกรรมดังนี้ กิจกรรมดำเนินงาน (Operating Activities) กิจกรรมการลงทุน (Investing Activities) กิจกรรมการจัดหา (Financing Activities)

งบกำไรสะสม (Retained Earning) เป็นงบซึ่งแสดงการเปลี่ยนแปลงยอดกำไรสะสมของบริษัทที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีหนึ่ง ทำให้ทราบว่าในการดำเนินงานมีผลกำไรเกิดขึ้นเท่าใด จ่ายเงินปันผลเท่าไร กำไรสะสมยกมาต้นปี และกำไรสะสม ณ วันสิ้นปี ตัวอย่าง บริษัท ธุรกิจจำลอง จำกัด งบกำไรสะสม สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 บาท กำไรสะสมต้นปี - กำไรสุทธิ 24,000 24,000 เงินปันผล (4,000) กำไรสะสมสิ้นปี 20,000

โจทย์ : จากข้อมูลต่อไปนี้ ให้จัดทำงบดุล งบกำไรขาดทุน งบกำไรสะสม ประจำปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ของบริษัท รุ่งเรือง จำกัด เงินสด 27,000 ขาย 425,000 เครื่องจักร 36,000 ที่ดิน 60,000 ค่าเช่าค้างจ่าย 5,000 ค่าซ่อมแซม 31,000 เงินปันผล 21,000 เงินเดือน 96,000 กำไรสะสมต้นปี 62,000 เจ้าหนี้ 21,500 อาคาร 58,000 เงินกู้ระยะยาว 50,000 สินค้าคงเหลือ 33,000 ตั๋วเงินรับ 25,000 ทุนเรือนหุ้น 120,000 ดอกเบี้ยค้างจ่าย 16,000 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 2,000 ต้นทุนขาย 212,000 ค่าไฟฟ้า 23,000 ค่ารับรอง 17,500 เงินฝากธนาคาร 40,000 ลูกหนี้ 18,000

รายการที่ใช้ในงบกำไรขาดทุน รายการที่ใช้ในงบกำไรสะสม รายการที่ใช้ในงบดุล รายการที่ใช้ในงบกำไรขาดทุน รายการที่ใช้ในงบกำไรสะสม เงินสด เครื่องจักร ค่าเช่าค้างจ่าย อาคาร สินค้าคงเหลือ ทุนเรือนหุ้น เงินฝากธนาคาร ที่ดิน เจ้าหนี้ เงินกู้ระยะยาว ตั๋วเงินรับ ดอกเบี้ยค้างจ่าย ลูกหนี้ ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ค่าไฟฟ้า ขาย ค่าซ่อมแซม เงินเดือน ต้นทุนขาย ค่ารับรอง เงินปันผล กำไรสะสมต้นปี

การประเมินผลการดำเนินงาน 1. การวิเคราะห์งบการเงินโดยการเปรียบเทียบ 2. การวิเคราะห์งบการเงินโดยใช้อัตราส่วนวัดผลการดำเนินงาน 3. การวิเคราะห์งบการเงินโดยใช้อัตราส่วนวัดความมั่นคงทางการเงิน การวิเคราะห์งบการเงินโดยการเปรียบเทียบ 1. การเปรียบเทียบกับการดำเนินงานที่ผ่านมา 2. การเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ได้วางแผนไว้ 3. การเปรียบเทียบกับความสำเร็จของคู่แข่งขัน 4. การเปรียบเทียบโดยใช้เปอร์เซ็นต์

การวิเคราะห์งบการเงินโดยวัดความมั่นคงทางการเงิน 1. อัตราส่วนหมุนเวียน( current ratio ) อัตราส่วนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน 2. เงินทุนหมุนเวียน ( working capital ) เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน - หนี้สินหมุนเวียน 3. อัตราส่วนสภาพคล่อง ( liquidity ratio ) อัตราส่วนสภาพคล่อง = สินทรัพย์หมุนเวียน - สินค้าคงเหลือ

การวิเคราะห์งบการเงิน โดยใช้อัตราส่วน วิเคราะห์สภาพคล่อง (Liquidity Ratio) 1. Current Ratio (อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน) - เท่า = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียนรวม 2. Quick Ratio (อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว) – เท่า = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ) / หนี้สินหมุนเวียนรวม

การวิเคราะห์งบการเงินโดยวัดความมั่นคงทางการเงิน  

การวิเคราะห์งบการเงินโดยวัดผลการปฏิบัติงาน 1. อัตราส่วนหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ ( inventory turnover) สินค้าคงเหลือถัวเฉลี่ย = สินค้าคงเหลือต้นงวด + สินค้าคงเหลือปลายงวด 2 อัตราส่วนหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ = ต้นทุนสินค้าที่ขาย สินค้าคงเหลือถัวเฉลี่ย 2. การประเมินมูลค่าสินค้าคงเหลือ ( inventory evaluation ) - วิธีเข้าหลังออกก่อน (last-in first-out - LIFO) - วิธีเข้าก่อนออกก่อน (first-in first-out - FIFO )

การวิเคราะห์งบการเงินโดยวัดผลการปฏิบัติงาน 3.อัตราส่วนผลตอบแทนจากการลงทุน ( return on investment ) ผลตอบแทนจากการลงทุน = กำไรสุทธิ เงินทุน 4. อัตราส่วนผลตอบแทนจากการขาย ( return on sales ) ผลตอบแทนจากการขาย = กำไรสุทธิ ยอดขาย

ประโยชน์ของงบการเงิน 1. งบกำไรขาดทุน แสดงให้ทราบถึงผลการดำเนินงาน สามารถช่วยให้เจ้าของกิจการตัดสินใจในการลงทุนและการดำเนินธุรกิจต่อไป 2. งบดุล แสดงให้ทราบถึงฐานะของกิจการว่า มีทรัพย์สิน หนี้สิน และส่วนของเจ้าของเป็นจำนวนเงินเท่าใด 3. เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบในการขอกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ 4. เป็นเอกสารที่รายงานต่อทางราชการตามที่กฎหมายกำหนด 5. เป็นหลักฐานในการบันทึกรายการเปิดบัญชีเมื่อรอบระยะเวลาบัญชีใหม่

จบบทที่ 7 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...