ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI) การนำหลักบริหารเชิงกลยุทธ์ไป ใช้ในสถานศึกษา(Strategic management to the school.) ดร.อนันท์ งามสะอาด ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI) สถาบันการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ALL : Academy of Lifelong Learning) https://www.facebook.com/anand.ngamsaard https://www.facebook.com/drrnan
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) คือ การบริหารเชิงรุกที่สร้างความ พร้อมให้กับองค์กร โดยสมาชิกเข้าใจตัวตน ขององค์กร จึงกำหนดทิศทางการดำเนินงาน สร้างความสอดคล้องของการปฏิบัติงานให้มี ความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง มีการจัดสรร ทรัพยากรที่เหมาะสม สามารถพัฒนา ศักยภาพขีดความสามารถและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการแข่งขัน นำไปสู่การเพิ่ม โอกาสความสำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ของ องค์กร
การบริหารเชิงกลยุทธ์แบบครบ วงจร การบริหารเชิงกลยุทธ์แบบครบ วงจร นิยมใช้วงจรการบริหารแบบเดมิ่ง (Deming Cycle) คือการจัดระบบการบริหารให้ ครบทั้ง 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การวางแผน (Plan) 2) การนำแผนไปปฏิบัติ (Do) 3) การติดตามประเมินผล (Check) 4) การปรับมาตรฐาน (Act)
ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ 1. การวางแผน ได้แก่ การกำหนดจุดมุ่งหมายของ องค์กร (Organization Purpose) 1.1 การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) เพื่อทราบจุดแข็งจุดอ่อนภายในขององค์กร โอกาสที่ดี และภัยคุกคามจากสภาพภายนอก S = Strength W = Weakness O = Opportunity T = Threat
ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ (ต่อ) ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ (ต่อ) 1.2 กำหนดเป็นกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการ ขับเคลื่อนองค์กร 1.3 กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ซึ่งเป็นการ กำหนดเป้าหมายในอนาคต ที่เป็นไปได้ในระยะเวลาที่ชัดเจน 1.4 กำหนดพันธกิจ (Mission) คือสิ่งที่ต้องปฏิบัติ 1.5 สร้างค่านิยมร่วม (Shared Value) ซึ่งเป็น วัฒนธรรมองค์ทางบวก สร้างเป็นความ เชื่อมั่นให้สมาชิกร่วมกัน ผลักดันให้องค์ขับเคลื่อน อย่างมีประสิทธิภาพ 1.6 กำหนดวัตถุประสงค์ (Objective )
ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ (ต่อ) ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ (ต่อ) 1.7 ตัวชี้วัด (Indicator) 1.8 เป้าหมาย (Goal) ของแต่กลยุทธ์ 1.9 แผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) รวบรวม แนวทางปฏิบัติเป็นเอกสาเดียวกัน 1.10 จัดทำแผนงาน และแผนปฏิบัติการ (Action Plan) มีความละเอียดมากขึ้นสามารถนำไป ปฏิบัติได้ แผนปฏิบัติงานมีความสำคัญมาก เพราะ เป็นเครื่องมือในการแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ช่วยในการควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงานดำเนินงานได้สะดวก มากยิ่งขึ้น
ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ (ต่อ) ขั้นตอนสำคัญของการบริหาร เชิงกลยุทธ์ (ต่อ) 2. การนำแผนไปปฏิบัติ คือการจัดเตรียมบุคคลผู้ ปฏิบัติตามแผนและการกำหนดมอบหมายความ รับผิดชอบ ตามตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPIs) ตัว ชี้ในระดับผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) 3. การควบคุมและประเมินผล ได้แก่การติดตาม โครงการ (Project monitoring) การตรวจสอบและ ติดตามความก้าวหน้า การเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ว่า เป็นไปตามที่เป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ การวิเคราะห์ ผลกระทบ และการปรับปรุง
(Strategic management to the school.) สรุป การนำหลักบริหารเชิงกลยุทธ์ไป ใช้ในสถานศึกษา (Strategic management to the school.) ในการบริหารสถานศึกษา หากผู้บริหารนำ หลักการบริหารเชิงกลยุทธ์ไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จะ ช่วยให้ทิศทางการจัดการศึกษา เป้าหมายของ สถานศึกษา (School Goals) การระดมทรัพยากร และการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย ประสบความสำเร็จได้มากยิ่งขึ้น
Special Thanks